เบอร โทรท าข าวเกาะแก ว ม.7 ตำบลหนองพระ จ.พ ษณ โลก

1 แนวการสอน ________________________________________________ 1. รหัสและชื่อวชิ า 9904208 ความยงั่ ยืนของสง่ิ แวดลอ้ ม (Sustainability of the Environment) 2. จำนวนหนว่ ยกิต 3(2-2-5) บรรยาย: 2 ช่วั โมง/สปั ดาห์ ปฏบิ ตั ิการ: 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ เรยี นรูด้ ้วยตนเอง: 5 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 3. อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบรายวิชาและสงั กัด อาจารยท์ ี่ไดร้ บั แต่งตั้งเป็นอาจารย์ผู้สอน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภูเก็ต 4. ภาคการศึกษาท่ี/ปีการศึกษา ชน้ั ปที ี่ 1-3 ของทุกหลกั สูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏภเู กต็ 5. คำอธิบายรายวชิ า แนวคิดเก่ียวกับส่ิงแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา ปัญหาและ ผลกระทบจากการพัฒนาที่มีต่อคุณภาพส่ิงแวดล้อม สถานการณ์ส่ิงแวดล้อมของโลกและประเทศ การพัฒนาที่ย่ังยืน การสร้างความตระหนักรู้ และจิตสำนึกด้านส่ิงแวดล้อมและความย่ังยืน การเป็น มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม และกรณีศึกษา 6. จดุ ประสงค์ของรายวิชา 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเก่ียวกับความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมได้ 2. เพื่อใหผ้ เู้ รียนสามารถนำหลกั การ ทฤษฎี ไปใชใ้ นการจัดการสิง่ แวดลอ้ มได้ 3. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถนำความรู้ไปใชใ้ นการแก้ไขปัญหาผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มได้

2 4. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความตระหนักและมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม 5. เพ่ือให้ผู้เรยี นเข้าใจถึงสถานการณ์สิ่งแวดล้อมท้ังในประเทศไทยและของโลก และเตรียมตัว รับมอื กับปัญหาสภาวะโลกรอ้ น 6. เพอ่ื ให้ผู้เรยี นเข้าใจถึงหลกั การพฒั นาอย่างย่งั ยืนและเป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม 7. แผนการสอน สัปดาห์ หัวขอ้ การสอน จำนวน กจิ กรรม สื่อทีใ่ ช้ ผ้สู อน ท่ี ชวั่ โมง การเรียนการสอน - เอกสารประกอบ 1-2 แนะนำรายวชิ า ปฐมนเิ ทศ - แนะนำอาจารย์ผสู้ อน การสอน มอบหมายภาระงาน 8 - ชแ้ี จงวตั ถุประสงค์ - power point 3-4 บทที่ 1 หลกั การ แนวคิด -การวัดผลและการประเมนิ ผล เกย่ี วกับสงิ่ แวดล้อม 8 -ข้อตกลงระหว่างอาจารย์ผู้สอน - เอกสารประกอบการ 1.1 ความหมายของส่งิ แวดลอ้ ม และนกั ศกึ ษา สอน 1.2 ประเภทของสง่ิ แวดล้อม -บรรยาย - Power Point 1.3 คุณสมบัติของสง่ิ แวดล้อม -กิจกรรมเดีย่ วและกลุ่ม 1.4 ความหมายและประเภทของ -นำเสนองานและการอภิปราย ทรัพยากรธรรมชาติ 1.5 ทรพั ยากรธรรมชาตทิ สี่ ำคัญ - บรรยาย 1.6 ระบบนเิ วศ องคป์ ระกอบ - กิจกรรมเดย่ี วและกล่มุ ของระบบนเิ วศ ความสมั พันธใ์ น - นำเสนองานและการอภิปราย ระบบนเิ วศ การหมนุ เวียนธาตุ อาหารในระบบนิเวศ 1.7ความหลากหลายทางชวี ภาพ บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎเี กยี่ วกับ การพฒั นา และการอนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อม 2.1 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างมนุษย์ กับสิ่งแวดลอ้ ม 2.2 หลักการอนรุ ักษ์ทรัพยากร 2.3 การพัฒนาตามแนว พระราชดำริ

3 สปั ดาห์ หัวขอ้ การสอน จำนวน กิจกรรม สื่อทใี่ ช้ ผู้สอน ที่ ช่ัวโมง การเรยี นการสอน 5-6 บทท่ี 3 ปญั หาและผลกระทบ - บรรยาย - เอกสาร จากการพฒั นาที่มตี ่อคณุ ภาพ 8 - กจิ กรรมเดย่ี วและกลุ่ม ประกอบการสอน 7-8 สิ่งแวดลอ้ ม - นำเสนองานและการอภิปราย วิชาความยัง่ ยนื ของ 3.1 การพัฒนากับสง่ิ แวดลอ้ ม 8 สงิ่ แวดล้อม 9 3.2 คณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม - บรรยาย - วดี ิทัศน์ 10-11 3.3 ปัญหาสิง่ แวดล้อมท่เี กิดจาก 8 - กิจกรรมเดย่ี วและกลุ่ม - โปรแกรม Power การพฒั นา - นำเสนองานและการอภปิ ราย Point สำหรับ 12-13 3.4 ผลกระทบจากการพัฒนาตอ่ 8 ประกอบการ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม สอบกลางภาคเรยี น บรรยาย 3.5 แนวทางการพัฒนาท่ีย่ังยนื - ศกึ ษาเอกสารประกอบการ และเป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม บรรยายและเอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง - เอกสาร บทท่ี 4 มลพษิ ส่ิงแวดลอ้ ม - บรรยายสรุปโดยใช้ ประกอบการสอน 4.1 สถานการณม์ ลพิษ สื่อคอมพวิ เตอร์นำเสนอ วิชาความยง่ั ยนื ของ สง่ิ แวดลอ้ ม ประกอบการบรรยาย สิ่งแวดลอ้ ม 4.2 นยิ ามศัพท์ท่เี ก่ยี วข้องกับ - ยกตวั อย่างจากกรณศี ึกษาและ - วีดทิ ศั น์ มลพิษส่ิงแวดลอ้ ม สรุปประเด็นสำคญั ร่วมกัน - โปรแกรม Power 4.3 ภาวะมลพษิ - ทำแบบฝกึ หัดทา้ ยบท Point สำหรับ 4.4 ประเภทของมลพษิ - ศกึ ษาเอกสารประกอบการสอน ประกอบการ ส่งิ แวดลอ้ ม ด้านการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื บรรยาย 4.5 แนวทางการปอ้ งกันมลพิษ - แบ่งกลุม่ สรุปประเดน็ รว่ มกนั สงิ่ แวดลอ้ ม แสดงความคดิ เห็นในการแกไ้ ข - สอื่ Power Point ปัญหาและการจดั การ - เอกสาร บทท่ี 5 สถานการณ์ - รว่ มอภิปรายเนื้อหา และทำ ประกอบการสอน สิ่งแวดลอ้ มโลกปจั จุบันและ แบบฝกึ หดั และเอกสารท่ี ประเทศไทย - คน้ ควา้ กรณศี กึ ษา เกีย่ วขอ้ ง 5.1 สถานการณ์สิ่งแวดล้อมโลก - แบบฝกึ หัดทา้ ยบท ในปัจจุบนั 5.2 สถานการณส์ ิ่งแวดลอ้ มใน - เอกสาร ประเทศไทย ประกอบการสอน - Power Point บทที่ 6 การพฒั นาทย่ี ั่งยืน - YouTube 6.1 หลกั การพฒั นาอยา่ งย่งั ยืน 6.2 หลกั การและแนวคดิ การ จัดการส่ิงแวดล้อมอยา่ งยั่งยนื

4 สปั ดาห์ หวั ข้อการสอน จำนวน กิจกรรม ส่อื ทีใ่ ช้ ผ้สู อน ท่ี ช่ัวโมง การเรยี นการสอน - เอกสาร 14 บทที่ 7 การสรา้ งจติ สำนกึ - ศึกษาเอกสารประกอบการสอนด้าน ประกอบการสอน ความตระหนกั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม 4 การสร้างจิตสำนกึ ความตระหนกั ด้าน - Power Point 15-16 7.1 การสรา้ งจติ สำนึกเยาวชนใน สิ่งแวดล้อม - YouTube การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 8 - แบง่ กล่มุ สรุปประเดน็ รว่ มกันแสดง 17 และสิง่ แวดล้อม ความคิดเห็นในการสร้างจิตสำนึกใน - การบรรยาย 7.2 การสร้างจติ สำนกึ สาธารณะ การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ประกอบ Power สง่ิ แวดลอ้ ม Point บทท่ี 8 นโยบายและแผน - รว่ มอภิปรายเนอ้ื หา และทำ - แบบฝกึ หดั ส่งิ แวดลอ้ ม กฎหมายท่ี แบบฝกึ หดั - แบบทดสอบยอ่ ย เกีย่ วขอ้ ง และกรณศี กึ ษา - ค้นควา้ กรณีศึกษา - เอกสาร 8.1 นโยบายสิง่ แวดล้อม - ซกั ถามความรู้พ้ืนฐานเกย่ี วกับ ประกอบการบรรยาย 8.2 แผนสง่ิ แวดล้อม นโยบายสงิ่ แวดล้อม แผนสิ่งแวดล้อม - คอมพวิ เตอร์ ระดบั ประเทศ และระดบั ภมู ภิ าค ระดับประเทศ และระดบั ภมู ภิ าค 8.3 กฎหมายทเ่ี กีย่ วข้อง - ศึกษาเอกสารประกอบการสอนดา้ น 8.4 กรณีศึกษา นโยบายและแผนสงิ่ แวดล้อม กฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ ง และกรณศี ึกษา - แบ่งกลุ่มสรุปประเด็น รว่ มแสดง ความคดิ เห็น - ร่วมอภิปรายเนือ้ หาและทำ แบบฝึกหัด - คน้ ควา้ กรณีศกึ ษาดา้ นการ ประยุกตใ์ ช้ด้านการจดั การ สิง่ แวดลอ้ ม สอบปลายภาคเรยี น 8. การวัดผลและการประเมินผล 8.1 คะแนนระหว่างภาคเรยี น 60% ประกอบด้วย - เขา้ ชนั้ เรียนและการมสี ่วนร่วมในห้องเรยี น - แบบฝกึ หดั /ใบงาน/กจิ กรรมกลุ่ม - รายงาน/การนำเสนองาน 8.2 สอบกลางภาคเรียน 20% 8.3 สอบปลายภาค 20%

5 การประเมินผล การแบ่งระดับข้ันการประเมินใช้แบบอิงกลุ่ม โดยพิจารณาจากค่าความถี่ของคะแนน คา่ เฉล่ีย ค่าการกระจายของคะแนนในสว่ นของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าพิสัย และแบบองิ เกณฑ์ใน ระดบั ขน้ั A คะแนนสูงกว่าหรือเทา่ กับ 80 คะแนน และระดับ E ทคี่ ะแนนตำ่ กวา่ 50 คะแนน ช่วงการใชค้ ะแนน ระดับข้ันคะแนน 80-100 A+ 75-79 B+ 70-74 B 65-69 C+ 60-64 C 55-59 D+ 50-54 D 1-49 E 9. หนังสือหลัก หมวดการศกึ ษาทั่วไป. (2564). เอกสารประกอบการสอนความยั่งยนื ของส่ิงแวดล้อม. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏภเู กต็

ก คำนำ สถานการณ์ส่ิงแวดล้อมจากอดีตจนถึงปัจจุบันน้ัน มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ท้ังด้วย ปัจจัยทางธรรมชาติและการกระทำของมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงจากการกระทำของมนุษย์ เมื่อประชากรโลกเพ่ิมขึ้น เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ สังคม การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ส่งผลให้ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมสูงขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผล กระทบต่อคุณภาพส่ิงแวดล้อมท้ังในระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค ระดับชาติและนานานชาติ ส่งผลให้ เกิดของเสียและปัญหามลพษิ ตามมา ไม่ว่าจะเป็นปญั หามลพิษทางน้ำ ปัญหาขยะมูลฝอยและของเสีย อันตราย ปัญหามลพิษทางอากาศ ปัญหามลพิษข้ามพรมแดน ปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพ ภูมิอากาศโลก ปัญหาภัยพิบัติ ปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้ง รวมถึงโรคระบาด เป็นต้น ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้สง่ ผลกระทบตอ่ การดำเนินชวี ติ ของมนุษยท์ ้ังโดยทางตรงและทางอ้อม ไม่วา่ จะเป็นด้านสุขภาพ คุณภาพชีวิตและความปลอดภัยที่ก่อให้เกิดโรคและความเจ็บป่วย ด้านเศรษฐกิจและสังคม ส่งผลต่อ รายรบั และรายจา่ ยในการใช้เพ่อื การอุปโภคและบริโภคในด้านต่าง ๆ ผลจากการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นนั้น ได้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและ คุณภาพสิ่งแวดลอ้ มของทุกคน แม้ในปัจจุบันมนษุ ยชาติได้พยายามดำเนินการในการหามาตรการและ แนวทางในการป้องกัน ควบคุมและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม แต่ยังไม่ประสบผลสำเร็จมากนัก เน่ืองจากประชาชนบางส่วนยังขาดความรู้ ความเข้าใจและองค์ความรู้ที่ถูกต้อง ดังน้ัน เอกสาร ประกอบการสอนรายวิชาความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมนี้ ซึ่งได้ถูกเรียบเรียงข้ึนโดยอาศัยข้อมูลทาง วิชาการจากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย เพื่อใช้ในการประกอบการเรียนการสอนของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในศึกษา ทำความเข้าใจและเรียนรู้ ที่จะปรับตัวให้เข้ากับ ส่ิงแวดล้อมได้ อนึ่ง ขอขอบคุณคณะผู้เรียบเรียงทุกท่านท่ีได้ทุ่มเทกำลังกายและกำลังใจในการจัดทำ เอกสารประกอบการสอน รายวิชาความยั่งยืนของส่ิงแวดล้อม ให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ข้อมูลและ องค์ความรู้ต่าง ๆ ในเอกสารเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ในการดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างเข้าใจ สามารถ เรยี นรู้และปรับตัวใหเ้ ข้าสถานการณส์ ่งิ แวดลอ้ มได้ คณะผู้เรยี บเรียง เมษายน 2564

ข สารบัญ คำนำ หน้า สารบญั (ก) บทท่ี 1 หลักการ แนวคดิ เก่ียวกบั ส่ิงแวดล้อม (ข) แผนบริหารการสอนประจำบทท่ี 1 1-1 บทนำ 1-2 1.1 ความหมายของสงิ่ แวดล้อม 1-2 1.2 ประเภทของสงิ่ แวดลอ้ ม 1-3 1.3 คุณสมบัติของสงิ่ แวดลอ้ ม 1-6 1.4 ความหมายและประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ 1-7 1.5 ทรพั ยากรธรรมชาติท่สี ำคญั 1-10 1.6 ระบบนิเวศ องคป์ ระกอบของระบบนเิ วศ ความสมั พนั ธใ์ นระบบนิเวศ 1-18 การหมนุ เวยี นธาตุอาหารในระบบนเิ วศ 1-36 1.7 ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) 1-40 เอกสารอ้างองิ 1-42 แบบฝกึ หดั /กจิ กรรมท้ายบท บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎเี กี่ยวกับการพัฒนา และการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม แผนบรหิ ารการสอนประจำบทที่ 2 2-1 บทนำ 2-2 2.1 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยแ์ ละสิง่ แวดล้อมธรรมชาติ 2-2 2.2 หลักการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 2-7 2.3 การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ 2-11 สรุป 2-20 เอกสารอ้างองิ 2-21 แบบฝึกหัด/กิจกรรมทา้ ยบท 2-22

ค หนา้ สารบัญ (ตอ่ ) 3-1 3-2 บทที่ 3 ปญั หาและผลกระทบจากการพฒั นาที่มตี อ่ คุณภาพสงิ่ แวดลอ้ ม 3-2 แผนบรหิ ารการสอนประจำบทที่ 3 3-6 บทนำ 3-8 3.1 การพฒั นากับส่ิงแวดล้อม 3-12 3.2 คณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม 3-14 3.3 ปัญหาส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดจากการพัฒนา 3-22 3.4 ผลกระทบจากการพัฒนาต่อคุณภาพส่งิ แวดล้อม 3-23 3.5 แนวทางการพฒั นาทีย่ ง่ั ยืนและเป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม 3-24 สรุป เอกสารอา้ งอิง 4-1 แบบฝกึ หดั /กจิ กรรมท้ายบท 4-2 4-2 บทท่ี 4 มลพษิ ส่งิ แวดล้อม 4-3 แผนบริหารการสอนประจำบทท่ี 4 4-5 บทนำ 4-6 4.1 สถานการณ์มลพษิ สิง่ แวดล้อม 4-17 4.2 นยิ ามศัพท์ทีเ่ ก่ียวข้องกับมลพษิ ส่งิ แวดล้อม 4-20 4.3 ภาวะมลพษิ 4-21 4.4 ประเภทของมลพษิ ส่ิงแวดล้อม 4-22 4.5 แนวทางการป้องกนั มลพิษสิง่ แวดลอ้ ม สรุป เอกสารอ้างองิ แบบฝึกหัด/กจิ กรรมทา้ ยบท

ง หนา้ สารบัญ (ตอ่ ) 5-1 5-3 บทที่ 5 สถานการณ์สง่ิ แวดล้อมโลกปัจจุบันและประเทศไทย 5-8 แผนบริหารการสอนประจำบทท่ี 5 5-14 5.1 สถานการณส์ ิง่ แวดลอ้ มโลกในปจั จุบนั 5-15 5.2 สถานการณ์ส่ิงแวดลอ้ มในประเทศไทย เอกสารอ้างอิง 6-1 แบบฝึกหัด/กจิ กรรมท้ายบท 6-3 6-13 บทท่ี 6 การพัฒนาท่ียง่ั ยืน 6-32 แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 6-35 6.1 หลกั การพัฒนาอยา่ งยั่งยืน 6.2 หลกั การและแนวคิดการจัดการส่งิ แวดล้อมอยา่ งย่ังยืน 7-1 เอกสารอ้างอิง 7-2 แบบฝกึ หดั /กิจกรรมทา้ ยบท 7-2 7-5 บทท่ี 7 การสรา้ งจิตสำนึก ความตระหนักด้านสง่ิ แวดล้อม 7-9 แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7 7-10 บทนำ 7.1 การสร้างจติ สำนกึ เยาวชนในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม 7.2 การสรา้ งจิตสำนกึ สาธารณะ เอกสารอ้างอิง แบบฝกึ หดั /กจิ กรรมท้ายบท

จ หนา้ สารบญั (ตอ่ ) 8-1 8-3 บทท่ี 8 นโยบายและแผนส่งิ แวดลอ้ ม กฎหมายท่ีเก่ยี วข้อง และกรณศี ึกษา 8-4 แผนบริหารการสอนประจำบทท่ี 8 8-13 บทนำ 8-21 8.1 นโยบายส่งิ แวดลอ้ ม 8-27 8.2 แผนสงิ่ แวดลอ้ มระดับประเทศ และระดับภูมภิ าค 8-29 8.3 กฎหมายท่ีเกีย่ วข้อง 8-31 8.4 กรณีศึกษา 8-32 สรปุ เอกสารอ้างอิง แบบฝึกหัด/กจิ กรรมท้ายบท

1-1 แผนบรหิ ารการสอน บทที่ 1 หลักการ แนวคิดเกย่ี วกับสงิ่ แวดล้อม 4 คาบ เน้อื หาหลกั ประจำบท 1. ความหมายของสง่ิ แวดล้อม 2. ประเภทของส่งิ แวดลอ้ ม 3. คณุ สมบตั ิของส่ิงแวดล้อม 4. ความหมายและประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ 5. ทรัพยากรธรรมชาติท่ีสำคัญ 6. ระบบนิเวศ องค์ประกอบของระบบนิเวศ ความสมั พันธ์ในระบบนเิ วศ การหมุนเวียนธาตุ อาหารในระบบนิเวศ 7 ความหลากหลายทางชวี ภาพ วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. เพ่อื ให้นักศึกษาทราบความหมายประเภทและคุณสมบัตขิ องสงิ่ แวดล้อมของสงิ่ แวดลอ้ ม 2. เพื่อใหน้ ักศกึ ษาทราบความหมายและประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ 3. เพอื่ ให้นักศกึ ษาสามารถอธิบายระบบนิเวศ องค์ประกอบของระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์ใน ระบบนิเวศ การหมนุ เวยี นธาตอุ าหารในระบบนิเวศ 4. เพอ่ื ใหน้ ักศึกษาสามารถอธิบายถึงความหลากหลายทางชีวภาพ กิจกรรมการเรยี นการสอน 1. บรรยาย 2. กจิ กรรมเดี่ยวและกลุม่ 3. นำเสนองานและการอภปิ ราย สือ่ การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. Power Point การวัดประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลจากการทำแบบฝึกหดั ทา้ ยบท 2. ประเมนิ ผลจากการสอบกลางภาคเรียน

1-2 บทที่ 1 หลักการ แนวคิดเกี่ยวกบั สง่ิ แวดล้อม สกุ ัญญา วงศธ์ นะบูรณ์ บทนำ สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวมนุษย์มีท้ังสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างข้ึน สิ่งแวดล้อมเหล่าน้ีมีความสำคัญ และคุณประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก เมื่อใดที่ ส่งิ แวดล้อมเปลยี่ นแปลงไปย่อมสง่ ผลกระทบต่อวิถีชีวิตของมนุษย์ และการดำรงชีวติ ของพืชและสตั ว์ 1.1 ความหมายของส่ิงแวดลอ้ ม สิ่งแวดล้อม (Environment) ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ. 2535 ในมาตรา 4 ได้ให้ความหมายของคำว่า ส่ิงแวดล้อม โดยสากลแล้วว่า ส่ิงแวดล้อม หมายถึง ส่ิงต่าง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่เกิดข้ึนเองตาม ธรรมชาติและท่ีมนุษย์สร้างขึ้น ทั้งท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรม ทั้งท่ีเป็นสสารและพลังงานรวมท้ัง ท่ีเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและท่ีมนุษย์ได้สร้างขึ้น สิ่งแวดล้อมน้ันมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอโดยมนุษย์ เปน็ ตัวการสำคัญท่ีทำใหส้ ิง่ แวดล้อมนั้น ๆ เปลี่ยนแปลง สิ่งแวดล้อม หมายถึง ทุกส่ิงทุกอย่างที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ท้ังที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ท้ังที่เป็น รูปธรรม (จับต้องได้และมองเห็นได้) และนามธรรม (วัฒนธรรม, แบบแผน, ประเพณี, ความเชื่อ) มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกัน เป็นปัจจัยเกื้อหนุนซ่ึงกันและกัน ผลกระทบจากปัจจัยหนึ่ง จะมีส่วน เสริมสร้างหรือทำลายอีกส่วนหนึ่งอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ สิ่งแวดล้อมเป็นวงจรและวัฏจักร ท่ีเกี่ยวข้อง กันไปทั้งระบบ ดังนั้น สิ่งแวดล้อม จึงหมายถึง ทุกส่ิงทุกอย่างที่อยู่รอบตัวเรา ทั้งท่ีมีชีวิตและไม่มีชีวิต นับต้ังแต่ คน สัตว์ ดิน น้ำ ต้นไม้ ภูเขา ตลอดจนส่ิงก่อสร้างต่าง ๆ เช่น อาคาร ท่ีอยู่อาศัย ถนนหนทาง สิ่งก่อสร้าง ส่ิงประดิษฐ์ต่าง ๆ นอกจากน้ียังหมายถึงสิ่งท่ีไม่สามารถมองเห็นชัดเจน เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ความเชอื่ ต่าง ๆ สง่ิ ต่าง ๆ เหล่านี้เกย่ี วขอ้ งกบั มนษุ ย์ ทั้งทาง ร่างกายและจิตใจ ส่ิงแวดล้อม (Environmental) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา ท้ังส่ิงท่ีมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต เห็นได้ด้วยตาเปล่า และไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า รวมท้ังส่ิงที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ และสิ่งท่ี มนุษย์เป็นผู้สร้างข้ึน หรืออาจจะกล่าวได้ว่า ส่ิงแวดล้อมจะประกอบด้วยทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรที่มนษุ ย์สรา้ งขน้ึ ในชว่ งเวลาหนึง่ เพอื่ สนองความตอ้ งการของมนุษยน์ ั่นเอง

1-3 ส่ิงแวดล้อม (Environment) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น ท้ังที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม เช่น แสงแดด อากาศ ตัวเรา ปา่ ไม้ สัตว์ปา่ อาคารบา้ นเรอื น รถยนต์ โทรศพั ทว์ ฒั นธรรมต่าง ๆ เป็นตน้ เกษม จันทร์แก้ว (2545) ได้ให้ความหมายของสิ่งแวดล้อมว่า หมายถึง ส่ิงต่าง ๆ ที่มีลักษณะ ทางกายภาพ ชีวภาพ และสังคม ที่อยู่รอบตัวมนุษย์ซึ่งเกิดข้ึนโดยธรรมชาติและมนุษย์ได้ทำข้ึน ท้ังน้ี ยังได้ให้ความหมายของสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติมอีกว่า หมายถึง ส่ิงที่เกิดตามธรรมชาติและท่ีมนุษย์สร้าง ขึ้น สิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม สิ่งท่ีเห็นได้ด้วยตาและไม่สามารถเห็นได้ด้วยตา ส่ิงท่ีเป็นท้ังท่ีให้ คุณและให้โทษ จากความหมายของสิ่งแวดล้อมท่ีกล่าวถึง มีความใกล้เคียงกัน และมีความหมาย ไปในทำนอง เดยี วกัน ซ่งึ มกั หมายถึง “สงิ่ ต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบตวั เรา” เปน็ คำนยิ ามที่เข้าใจง่าย เพราะเป็นคำนิยามที่ใช้ ให้เห็นว่าบรรดาสรรพสิ่งท้ังหลายที่อยู่รอบ ๆ ตัวเราเป็นสิ่งแวดล้อมท้ังน้ัน ไม่ว่าจะเป็น ส่ิงท่ีมีชีวิต และสิง่ ไม่มีชวี ิตก็ตาม (เกษม จันทรแ์ ก้ว, 2545) การพิจารณาขอบเขตของอาณาบรเิ วณรอบตวั เราว่ามีรัศมจี ำกัดรอบตัวเรามากน้อยเพียงใดน้ัน จากคำนิยามจะเห็นได้ว่า สิ่งต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบตัวเรา ไม่ได้มีขอบเขตจำกัด มันอาจอยู่ใกล้หรือไกลตัว เรากไ็ ด้ ซึง่ จะมีบทบาทหรือมีส่วนได้ส่วนเสียตอ่ ตวั เราอย่างไรน้ันขน้ึ อยู่กบั ลกั ษณะ และพฤติกรรมของ สิ่งน้ัน ๆ 1.2 ประเภทของสิง่ แวดล้อม จากความหมายของสิ่งแวดล้อมท่ีกล่าวไว้ข้างต้น เราสามารถจำแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมได้ เป็น 2 ประเภท โดยพจิ ารณาจากแหล่งกำเนดิ ของสิง่ แวดลอ้ ม ได้แก่ 1. สง่ิ แวดลอ้ มที่เกิดขน้ึ เองโดยธรรมชาติ (Natural Environment) สงิ่ แวดล้อมประเภท นี้ ย่อมหมายถึงทกุ สิง่ ทุกอย่างที่อยู่รอบตัวมนุษย์และเปน็ ส่ิงทีเ่ กิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ สิง่ ทเ่ี กิดข้ึนเอง ตามธรรมชาติน้ันย่อมมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ที่กล่าวกันว่าเป็นความหลากหลายในธรรมชาติ บางชนิดใช้เวลาในการเกิดยาวนานมาก บางชนิดใช้ระยะเวลาสั้น ๆ ในการเกิด ส่ิงแวดล้อมชนิด หน่ึง ๆ ย่อมมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมชนิดอ่ืน ๆ ถ้ามีการทำลายสิ่งแวดล้อมหน่ึงย่อมมีผลถึง สิ่งแวดล้อมอนื่ ส่ิงแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติน้ัน ย่อมมีการเสื่อมสลายไปตามธรรมชาติ และย่อมมีการเกิดขึ้นใหม่ทดแทน ในลักษณะเป็นวงจรชีวิตตามธรรมชาติของมัน ซ่ึงหากเป็นเช่นนั้น แลว้ ย่อมไม่ก่อใหเ้ กิดปัญหาสิ่งแวดลอ้ มใด ๆ ข้นึ มา แต่เม่ือใดก็ตามทมี่ นษุ ย์เข้าไปใช้ประโยชน์ เข้าไป ทำลาย ก็จะกลายเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมในลักษณะการสูญส้ินหมดไป สิ่งแวดล้อมที่เกิดข้ึนเองตาม ธรรมชาติ สามารถแบ่งยอ่ ยออกเปน็ 2 ลักษณะ โดยพจิ ารณาจากการมีชีวติ หรอื ไมม่ ชี วี ิต

1-4 (1) ส่ิงแวดล้อมที่มีชีวิต (Biotic Environment) เป็นส่ิงแวดล้อมท่ีใช้ระยะเวลา สั้น ๆ ในการเกิด เป็นส่ิงแวดล้อมท่ีสามารถเพิ่มจำนวนขึ้นมาทดแทนใหม่ได้ แต่เป็นสิ่งแวดล้อมท่ีสูญ ส้ินไปได้ หากมนุษยเ์ ราทำใหธ้ รรมชาตเิ สียสมดุล ตัวอยา่ งสง่ิ มีชวี ติ ไดแ้ ก่ พืช ปา่ ไม้ ทุง่ หญ้า สตั ว์ ไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา โปรโตซวั สาหร่าย และมนุษย์ เป็นต้น สิ่งแวดล้อมท่ีมีชีวิตมีลักษณะเฉพาะตัว ซ่ึงลักษณะนั้นถูกควบคุมโดยพันธุกรรม ซึ่งส่ิงท่ีมีชีวิต ต้องมคี ณุ สมบัตคิ อื (1.1) ส่ิงมชี ีวติ ทกุ ชนิดประกอบขึ้นจากหน่วยเลก็ ๆ เรยี กว่า เซลล์ (Cell) (1.2) ส่ิงมีชีวติ สามารถสืบพันธุ์ใหล้ กู หลานได้ (1.3) สิ่งมีชีวติ ทุกชนดิ ตอ้ งการอาหาร (1.4) สง่ิ มีชวี ิตมีการเคลื่อนท่หี รือเคลือ่ นไหว (1.5) สิ่งมชี ีวิตมกี ารหายใจ (1.6) สิ่งมีชีวติ มกี ารเจริญเตบิ โตและการขับถา่ ย (2) สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต (Abiotic Environment) หมายถึง ส่ิงแวดล้อมที่ เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและไม่มีคุณสมบัติของส่ิงมีชีวิต เป็นส่ิงแวดลอ้ มที่ธรรมชาติสร้างข้ึนมา บางชนิด ใช้ระยะเวลาในการเกิดยาวนานมาก นานจนมนุษย์ไม่สามารถรอใช้ประโยชน์ได้ และสามารถสูญสิ้น ไปได้ หากมนุษย์ใช้อย่างไม่ระมัดระวัง ไดแ้ ก่ แร่ธาตุ แร่เช้อื เพลงิ บางชนิดเป็นสง่ิ แวดล้อมท่ีปรากฏให้ มนุษย์ได้เห็น ได้รู้สึก ได้สัมผัส อย่างมากมายเหลือเฟือ ไม่มีวันสูญสิ้นไปจากโลก ได้แก่ ดิน หิน ถ่าน หิน น้ำ อากาศ อุณหภมู ิ ความชื้น ความร้อน ไฟ แสงสวา่ ง แสงแดด เสียง เป็นตน้ 2. ส่ิงแวดล้อมที่มนุษย์สร้างข้ึน (Man-Made Environment) หมายถึง สิ่งแวดล้อมที่ มนุษย์พัฒนาหรือใช้เทคโนโลยีเพื่อปรับปรุงเปลี่ยนแปลงธรรมชาติเพื่อยกระดับมาตรฐานการ ดำรงชีวิตและการอยู่ร่วมกันในสังคม ส่ิงแวดล้อมประเภทนี้มนุษย์อาจสร้างข้ึนโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ ก็ได้ มีท้ังส่ิงท่ีมองเห็นได้ จับต้องได้ และส่ิงที่ไม่สามารถมองเห็นได้หรือไม่สามารถจับต้องได้ เป็นส่ิงแวดล้อมที่มนุษย์สร้างข้ึนเพ่ือสนองความต้องการของตนเองหรืออาจสร้างข้ึนด้วยเหตุจำเป็น บางประการ สิ่งแวดล้อมท่ีมนุษย์สร้างข้ึนมีท้ังสิ่งที่ดีท่ีจะช่วยให้มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่าง สุขสบาย ทำให้มนุษย์มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น และสิ่งที่ไม่ดีที่จะทำให้ความเป็นอยู่ของมนุษย์เลวลง ทำให้มนุษย์ได้รับความเดือดร้อน ต้องสูญเสียชีวิตหรือส่วนใดส่วนหน่ึงของร่างกาย สุขภาพจิตเสื่อม โทรมลง ส่งิ แวดลอ้ มท่ีมนษุ ยส์ รา้ งขึน้ นน้ั สามารถแบง่ ย่อยออกเปน็ 2 ลกั ษณะ (1) ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) เป็นสิ่งแวดล้อมที่ มองเหน็ ได้ จับตอ้ งได้ เป็นสงิ่ ท่ีมนุษย์สร้างขน้ึ เพ่ืออำนวยความสะดวกในการมีชีวิตอยู่ บางส่ิงท่ีมนุษย์ สร้างก็เป็นไปเพ่ือสนองความต้องการขั้นพนื้ ฐานของการดำรงชีวิต ได้แก่ ปัจจัยสี่ อันหมายถึง อาหาร ท่ีอยู่อาศัย เคร่ืองนุ่งห่ม และยารักษาโรค แต่บางสิ่งก็สร้างเพ่ือสนองความต้องการอันไร้ขอบเขตของ

1-5 ตนเอง ซ่ึงถือได้ว่าเป็นการสร้างที่เกินความจำเป็น อันจะนำความเสียหายมาสู่ส่ิงแวดล้อมและชีวิต มนุษย์เองได้เมื่อถึงระดับหน่ึง สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างข้ึนมีทั้งส่ิงที่ดี มีคุณประโยชน์ต่อชีวิตมนุษย์ เช่น บ้านเรือน เสื้อผ้า รถยนต์ ถนน เคร่ืองมือทางการแพทย์ โทรศัพท์ เป็นต้น และส่ิงท่ีไม่ ดี ทำให้คุณภาพชีวิตเลวลง เช่น น้ำเน่าเสีย สารพิษท่ีใช้ในการเกษตร สารพิษท่ีปล่อยจากโรงงาน อุตสาหกรรม เปน็ ตน้ (2) สิ่งแวดล้อมทางสังคม (Social Environment) เป็นส่ิงแวดล้อมที่มีลักษณะ เป็นนามธรรม มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของการอยู่ร่วมกันในสังคม เช่น กฎหมาย ประเพณี ระเบียบ ข้อบังคับ เป็นต้น บางส่ิงอาจสร้างข้ึนเพ่ือเป็นเครื่องยึดเหน่ียวทาง จิตใจ เช่น ศาสนา ความเชื่อ พิธีกรรม เป็นต้น บางส่ิงอาจสร้างขึ้นเพ่ือส่งเสริมความเจริญให้เกิดข้ึน แก่หมู่มวลมนุษย์ เช่น การศึกษา การวิจัย เป็นต้น บางสิ่งสร้างข้ึนโดยพฤติกรรม การแสดงออกทั้งใน ลักษณะท่ีต้ังใจและไม่ตั้งใจ เช่น การทะเลาะวิวาท การช่วยเหลือผู้อ่ืนท่ีได้รับความเดือดร้อน การติด ยาหรือสารเสพติด เป็นต้น ส่ิงแวดล้อมท่ีมนุษย์สร้างข้ึนนั้น สามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ โดยพิจารณาจาก ความเปน็ รปู ธรรมหรือนามธรรมของส่ิงน้ัน ๆ 1. ส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นรูปธรรม (Physical Environment) หมายถึง ส่ิงที่มนุษย์ สร้างข้ึนเป็นวัตถุสามารถมองเห็นได้ชัดเจน เช่น ถนน บ้าน รถยนต์ เครื่องบิน เคร่ืองใช้ในบ้าน เป็นต้น 2. ส่ิงแวดล้อมที่เป็นนามธรรม (Abstract หรือ Social Environment) หมายถึง ส่ิงแวดล้อมท่ีมนุษย์สร้างขึ้น ไม่สามารถมองเห็นได้ ได้แก่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การปกครอง การเมือง ศาสนา กฎหมาย เป็นต้น ซ่งึ ส่ิงแวดล้อมเหล่านี้มีผลตอ่ พฤติกรรมท่ีแสดงออก และสามารถนำมาปฏิบตั ิได้ เพ่ือให้มนษุ ย์สามารถอาศัยอยูร่ ่วมกนั ได้ในสังคมอย่างเป็นระเบียบ ส่ิงแวดล้อมท่ีมนุษย์สร้างข้ึนนี้ หากพิจารณาในลักษณะที่ว่ามนุษย์มีวัฒนธรรม มีอารยธรรม สามารถถ่ายทอดความรู้ความคิดต่าง ๆ ไปสู่คนรุ่นหลัง เพ่ือที่จะนำความรู้ท่ีมีไปนำทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมมาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ข้ึนมา สำหรับสนองความต้องการของมนุษย์เอง อาจเรยี กวา่ ส่ิงแวดลอ้ มทางวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างข้ึนมา หากไม่คำนึงถึงผลของการใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมแล้ว เป็นที่แน่ชัดว่าจะส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมแน่นอน ยกตัวอย่างเช่น อาคารที่ใช้กระจกท้ังหลัง มีความสวยงามทางสถาปัตยกรรม แต่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม คือ ทำให้เกิดความร้อนมากขึ้น ทำให้ตอ้ งใชพ้ ลงั งานสงู ในการทำความเย็นภายในอาคาร เป็นต้น

1-6 1.3 คณุ สมบัติของส่ิงแวดลอ้ ม ส่งิ แวดล้อมย่อมมีสมบัติเฉพาะตัว การแสดงสมบัติของส่ิงแวดล้อม ต้องเป็นการแสดงออกของ บทบาท/หน้าที่ของส่ิงแวดล้อมน้ัน การเข้าใจสมบตั เิ ฉพาะตัวของสง่ิ แวดล้อม เป็นสิ่งสำคัญในการทจ่ี ะ ทำให้ส่ิงแวดล้อมย่ังยืน ดังน้ันการทำความเข้าใจเรื่องสมบัติของส่ิงแวดล้อมจึงเป็นเร่ืองจำเป็น ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 1. สิ่งแวดล้อมแต่ละชนิดจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว สิ่งแวดล้อมจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ในด้านโครงสร้างหรือองค์ประกอบ เช่น รูปทรง ขนาด สี หรือกระบวนการท่ีสร้างส่ิงแวดล้อมนั้น เอกลักษณ์ที่แสดงออกมานั้น สามารถบ่งบอกได้ว่าสิ่งแวดล้อมน้ันเป็นอะไร เช่น ป่าชายเลน ป่าสน ป่าดงดิบ ภเู ขา บ้านเรอื น โรงงานอุตสาหกรรม ประเพณี ศาสนา พน้ื ทเ่ี พาะปลูก เป็นต้น 2. ส่ิงแวดล้อมน้ันจะไม่อยู่โดดเดี่ยวในธรรมชาติ โดยธรรมชาติแล้ว จะไม่มีส่ิงแวดล้อม ใดอยู่อย่างโดดเดี่ยว แต่จะมีสิ่งแวดล้อมอ่ืนอยู่ด้วยเสมอ เช่น สัตว์น้ำกับทะเล มนุษย์กับบ้านเรือน สตั ว์ปา่ กับปา่ เบญจพรรณ สตั ว์นำ้ วัยออ่ นกบั ป่าชายเลน ถนนกบั รถยนต์ เป็นตน้ 3. ส่ิงแวดล้อมทั้งหลายมักมีความเก่ียวเน่ืองและมีความสัมพันธ์ต่อกัน เนื่องจาก ส่ิงแวดล้อมไม่อยู่โดดเด่ียว จึงต้องมีความเกี่ยวเนื่องและมีความสัมพันธ์ต่อกัน เช่น ป่าไม้ต้องการธาตุ อาหารในดินเพ่ือการเจริญเติบโต สัตว์ป่าต้องการป่าไม้เป็นที่อยู่อาศัยและแหล่งหากิน มนุษย์ตอ้ งการ น้ำไว้เพื่อการใช้สอยและดื่มกิน การเปล่ียนแปลงส่ิงแวดล้อมหน่ึง ไม่ว่าจะเป็นการเปล่ียนแปลงเพียง เลก็ น้อยหรือเป็นการเปลีย่ นแปลงอย่างมาก ย่อมจะสง่ ผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ มอื่น ๆ อย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ เช่น การตัดไม้ทำลายป่าของมนุษย์ ย่อมส่งผลกระทบถึงความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน้ำ การท้ิงขยะและส่งิ ปฏิกูลลงแหล่งนำ้ ย่อมส่งผลกระทบถึงคณุ ภาพของนำ้ เปน็ ตน้ 4. สิ่งแวดล้อมแต่ละชนิดจะมีความทนทานและความเปราะบางต่อการถูกกระทำใน ระดับที่แตกต่างกัน ปัจจัยที่ควบคุมความทนทานหรือความเปราะบางของสิ่งแวดล้อม ได้แก่ คุณลักษณะเฉพาะตัว แหล่งกำเนิด ขนาด รูปทรง สี อายุ ความสามารถในการป้องกันตนเอง ฯลฯ ปัจจัยควบคุมเหลา่ น้ที ำให้สิ่งแวดล้อมมกี ารเปล่ียนแปลงได้ยากง่ายแตกต่างกันออกไป ส่งิ แวดล้อมท่ีมี ความทนทานสูงย่อมมีการเปลี่ยนแปลงหรือถูกทำลายได้ยาก ส่ิงแวดล้อมท่ีมีความเปราะบางย่อมมี การเปลี่ยนแปลงหรือถูกทำลายได้ง่าย เช่น สัตว์บางชนิดมีลักษณะท่ีสวยงาม มีความสามารถในการ ป้องกันตัวเองน้อย และอาศัยอยู่ในบริเวณท่ีง่ายแก่การล่า ก็อาจสูญพันธุ์ได้ง่าย จึงเป็นเรื่องที่มนุษย์ ต้องระมัดระวังและพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนท่ีกระทำการใด ๆ มิฉะนั้นโลกของเราอาจจะต้อง สญู เสยี หลายสิ่งหลายอย่างไปอยา่ งน่าเสยี ดาย 5. สิ่งแวดล้อมแต่ละชนิดจะมีการเปล่ียนแปลงได้ ท้ังในด้านปริมาณและคุณลักษณะ ส่ิ งแ ว ด ล้ อ ม โด ย ท่ั ว ไป จ ะ มี ก า ร เป ล่ี ย น แ ป ล งอ ยู่ ต ล อ ด เว ล าทั้ งใน ด้ า น ป ริ ม า ณ แ ล ะ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ซ่ึงการเปล่ียนแปลงน้ันอาจเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ หรืออย่างรวดเร็วก็ได้ อาจเป็นการเปลี่ยนแปลงไปตาม

1-7 ธรรมชาติของสิง่ แวดล้อมน้นั หรือเป็นการเปลีย่ นแปลงทเ่ี กิดขึ้นเน่ืองจากสง่ิ แวดล้อมอื่น ๆ เช่นมนุษย์ สัตว์ และพืช ย่อมเจริญเติบโต และขยายพันธุ์ไปตามธรรมชาติ น้ำและอากาศอาจมีสภาพเสอื่ มโทรม ลงจากการกระทำของมนุษย์ สัตว์ป่าเหลือน้อยลงเนื่องจากป่าไม้ถูกทำลาย บ้านเรือนพังทลายเพราะ พายุท่ีพดั ผา่ นอย่างรนุ แรง อาจสรุปคุณสมบัติเฉพาะตัวของส่ิงแวดล้อมได้ดังน้ี (คณะกรรมการบริหารวิชาการบูรณาการ หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป, 2543) 1. สิ่งแวดล้อมแต่ละประเภท จะมีเอกลักษณ์ท่ีเด่นชัดเฉพาะตัว (Unique) จะอยู่ท่ีใด ก็ตามเอกลกั ษณน์ ัน้ จะบ่งบอกอยา่ งชัดเจน เช่น ตน้ ไม้ มนุษย์ น้ำ บ้าน ฯลฯ 2. สิ่งแวดล้อมนั้นจะไม่อยู่โดดเดี่ยวในธรรมชาติ แต่จะมีสิ่งแวดล้อมอื่นอยู่ด้วยเสมอ เชน่ ปลากับน้ำ มนุษยก์ ับท่ีอยอู่ าศยั ต้นไม้กับดิน ฯลฯ 3. สิ่งแวดล้อมประเภทหนึ่งมีความต้องการส่ิงแวดล้อมอื่นเสมอ เช่น ปลาต้องการน้ำ มนษุ ย์ต้องการทอี่ ยู่อาศยั ฯลฯ 4. ส่ิงแวดล้อมจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า ระบบนิเวศหรือระบบส่ิงแวดล้อม ซ่ึงภายในระบบนิเวศจะมีองค์ประกอบหลายชนิดของสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบนิเวศป่าไม้ ระบบนิเวศ ทางทะเล ฯลฯ 5. สิ่งแวดล้อมทั้งหลาย มีความเกี่ยวเน่ืองและสัมพันธ์ต่อกันเป็นลูกโซ่ ดังนั้นถ้าทำลาย ส่ิงแวดล้อมหน่ึงก็จะส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมอื่น ๆ เป็นลูกโซ่เสมอ ท้ังน้ีเพราะส่ิงแวดล้อมแต่ละ ชนิดมีความต้องการกันและกันทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่นการตัดไม้ทำลายป่า ทำให้เกิดการ พังทลายของดิน ส่งผลให้ดนิ ขาดความอุดมสมบูรณ์ เกิดอุทกภัยสญู เสยี ชีวติ และทรัพย์สนิ ฯลฯ 6. สิ่งแวดล้อมแต่ละประเภทมีลักษณะทนทาน และความเปราะต่อการถูกกระทบ แตกตา่ งกนั บางชนดิ มีความคงทนดี บางชนดิ เปราะง่าย เชน่ การชะลา้ งของดิน 7. สิ่งแวดล้อมมีการเปล่ียนแปลงตามเวลาท่ีเปลี่ยนไป ไม่คงสภาพ อาจเป็นการ เปลี่ยนแปลงแบบถาวร หรือช่ัวคราวก็ได้ เช่น การเติบโตของเมือง การเผาทำลายป่าจะมีพืชค่อย ๆ ขน้ึ ทดแทน 1.4 ความหมายและประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ 1.4.1 ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ และให้ประโยชน์ต่อ มนุษย์ไม่ทางใดก็ทางหน่ึง ตามความหมายของธรรมชาติน้ัน ทรัพยากรธรรมชาติจะต้องเป็นมิติหนึ่งของ สิ่งแวดล้อม หรือส่ิงแวดล้อมท่ีให้ประโยชน์ต่อมนุษย์ก็คือทรัพยากรธรรมชาติ แต่ทรัพยากรธรรมชาติ ทง้ั หมดจะต้องเป็นสงิ่ แวดลอ้ มท้งั นนั้ (เกษม จนั ทรแ์ ก้ว, 2544)

1-8 ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ (ส่ิงแวดล้อม) ที่เกิดขึ้น เองตามธรรมชาติ และมนุษย์สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ เช่น บรรยากาศ ดิน น้ำ ป่าไม้ ทุ่งหญ้า สตั วป์ า่ แร่ธาตุ พลังงาน และกำลงั แรงงานมนษุ ย์ เป็นตน้ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ี่มอี ย่มู ากมายหลากหลายชนิดมีทั้งที่มีสถานะเป็นของแข็ง เช่น ดิน หิน แร่ เป็นต้น หรือท่ีมีสถานะเป็นของเหลว เช่น น้ำ น้ำมันปิโตรเลียม และท่ีมีสถานะเป็นแก๊ส เช่น อากาศ นอกจากนี้บางชนิดก็เป็นส่ิงมีชีวิต เช่น มนุษย์ สัตว์ป่า ป่าไม้ เป็นต้น และบางชนิดก็เป็นส่ิงที่ ไม่มีชวี ิต เช่น อากาศ น้ำ ดนิ เปน็ ต้น 1.4.2 ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติ (Natural Resources) บนพนื้ โลก แบง่ ออกเป็น 3 กลุ่ม แตล่ ะกลุ่ม มสี มบตั เิ ฉพาะตัวดังน้ี 1. กลุ่มทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่หมดส้ิน (Non - Exhausting Natural Resources) เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในปริมาณมากและมีอยู่ทุกหนทุกแห่งในโลกและมีความจำเป็นต่อการ ดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ทรัพยากรเหล่าน้ีได้แก่ อากาศ แสงอาทิตย์และน้ำ ซึ่งเป็นกลุ่ม ทรัพยากรธรรมชาติที่จำเป็น และขาดมิได้สำหรับมนุษย์และส่ิงมีชีวิต ธรรมชาติมีให้ตลอดเวลาตราบ เท่าปรากฏการณ์ของโลก ดวงอาทิตย์ และหมู่ดวงดาว ในอากาศยังเป็นปกติ รูปแบบการจัดการ จึงเน้นที่การควบคุมการปนเปื้อน เกินค่ามาตรฐานจนเป็นอันตรายต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อมอื่น ๆ อาจกล่าวได้ว่า การปนเปื้อน จะสร้างปัญหาต่อทรัพยากรเหล่านี้ ดังนั้นการจัดการส่ิงแวดล้อม จึงมุ่งเน้นการควบคุม การใช้ทรัพยากรอ่ืน ๆ ที่เป็นแหล่งปัญหา (Point Sources) เช่น การเผาไหม้ ของน้ำมันเช้ือเพลิง การเผาป่า การปล่อยควันพิษของโรงงานอุตสาหกรรม การระเหยของสารพิษ การเผาไหม้วัสดุเคมี ฯลฯ ในกรณีที่เกิดปัญหาต่อทรัพยากรธรรมชาติกลุ่มน้ี รูปแบบการจัดการมักจะ เน้นการกรอง การทำให้ตกตะกอน การฆ่าฤทธ์ิ การลดปริมาณสารพิษ หรือการสร้างสิ่งป้องกันใน รูปแบบต่างๆ เป็นต้น ถึงแม้ว่าทรัพยากรธรรมชาติเหล่าน้ีจะมีอยู่ในปริมาณมาก แต่ถ้าใช้โดย ไม่ระมัดระวังไม่ดูแลรกั ษาก็จะทำให้ทรพั ยากรธรรมชาติเหล่านี้เส่ือมสภาพไป และนำมาใช้ประโยชน์ ไดไ้ มเ่ ตม็ ที่ 2. กลุ่มทรัพยากรท่ีใช้แล้วทดแทนได้ (Renewable Natural Resources) เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่เมื่อนำมาใช้ประโยชน์แล้วยังสามารถเกิดข้ึนทดแทนในธรรมชาติได้ เป็นกลุ่มทรัพยากรท่ีธรรมชาติสร้างข้ึนมา กลุ่มนี้จึงเป็นกลุ่มที่มีชีวิต ได้แก่ มนุษย์ พืช และสัตว์ ซึ่งมี เอกลักษณ์เด่นท่ีควบคุมโดยพันธุกรรม ของแต่ละพันธุ์แต่ละชนิด ที่มีสมบัติพิเศษก็คือ มีการเกิด ทดแทนส่วนที่ตายไปได้ รูปแบบการจัดการจึงเน้นท่ีจะนำส่วนที่สูญสิ้นไปมาใช้ประโยชน์ต่อมนุษย์ ได้แก่ นำต้นไม้ พืช หรือสินค้าท่ีมีอัตราการเจริญเติบโตเต็มท่ีมาใช้ประโยชน์ บางกรณีจะนำส่วนท่ีดี ที่สุด ให้คุณค่าสูงสุดมาใช้ประโยชน์ จำเป็นต้องสร้างสิ่งทดแทนให้ผลดีเท่ากับที่เก็บเก่ียว

1-9 มาใช้ประโยชน์ รูปแบบการจัดการของทรัพยากรท่ีใช้แล้วทดแทนได้ มักจะกำหนดพื้นที่ ปริมาณ เก็บเกี่ยว ขนาดที่เก็บเก่ียว เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยว เวลาที่เก็บเกี่ยวและการฟ้ืนตัวโดยใช้ธรรมชาติ หรือเทคโนโลยีช่วยเสมอ ในขณะเดียวกันจะมีการดูแลรักษาเก็บเอาไว้ทำพันธ์ุ สงวน แบ่งเขต ฟื้นฟู ป้องกนั และพฒั นาอยา่ งต่อเนอ่ื ง ต้งั แตเ่ รม่ิ จนเก็บเกีย่ วผลประโยชนไ์ ด้ 3 . ก ลุ่ ม ท รัพ ย าก รที่ ใช้ แ ล้ ว ห ม ด ไป (Exhausting Natural Resources) เป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วต้องหมดไปไม่วันใดก็วันหนึ่ง ความจริงแล้วมีการเกิดขึ้นทดแทน เช่นเดียวกับ กลุ่มทรัพยากรท่ีใช้แล้วทดแทนได้ แต่การทดแทนน้ันช้ามาก อาจใช้เวลาเป็นหมื่น ๆ ปี ก็มี เช่น หิน ดิน แร่ น้ำมันปิโตรเลียม หินน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้บางชนิดเป็นแหล่ง พลังงานที่อำนวยความสะดวกทำให้มนุษย์มีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน รูปแบบการจัดการจึงเน้นสอง ประเด็น ประเด็นแรกใช้เทคโนโลยสี ูง และประเด็นที่สองคือมีการนำกลับมาใช้ (Reuse) และรไี ซเคิล (Recycle) ท้ังสองประเด็นน้ีมีสิ่งที่ตรงกันคือ ต้องสร้างเทคโนโลยีให้มีประสิทธิภาพสูงในการนำไปใช้ ในการจัดการ อีกส่วนท่ีต้องตระหนักเสมอก็คือ คนที่ใช้หรือจัดการทรัพยากรประเภทนี้ ตอ้ งมีความรู้ และความเข้าใจในการนำมาใช้ของทรพั ยากรกลุ่มน้ี ตลอดจนเข้าใจในการควบคมุ ของเสยี และมลพิษ รวมไปถึงการนำกลับมาใช้ และรีไซเคิล ว่าต้องทำอย่างไร เมื่อไร ท่ีไหน และเพ่ืออะไร โดยท่ัวไปแล้ว รปู แบบการจดั การทรพั ยากรกลุ่มน้ีมักจะใช้เทคโนโลยีสูง ผจู้ ัดการและผู้ที่เกี่ยวข้องต้องมีความรู้ และ ความเข้าใจสงู ดังจะเห็นแล้วว่าทรัพยากรธรรมชาติท้ัง 3 ประเภทน้ีมีความสำคัญและจำเป็นต่อการ ดำรงชีวิตของมนุษย์จึงต้องคำนึงถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้และมีการดูแลรักษาควบคู่กันไป เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ และใหม้ ีใชอ้ ยา่ งยงั่ ยืน สรุปได้ว่าส่ิงจำเป็นในการดำรงชีวิตของประชากรมนุษย์ล้วนมาจากทรัพยากรธรรมชาติ เม่ือประชากรมนุษย์มีจำนวนมากขึ้นก็จำเป็นจะต้องแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการอุปโภค ในปริมาณมากข้ึน มีการปรับปรุงเทคโนโลยีทางการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงคุณภาพผลผลิต สำหรับเลี้ยงประชากรมนุษย์ มีการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อผลิตส่ิงของเคร่ืองใช้ระดับอุตสาหกรรมมาก ข้ึน สังคมของโลกพัฒนาจนเจริญก้าวหน้า มีการพัฒนาเทคโนโลยีส่ือสาร การขนส่ง ให้สามารถ ติดตอ่ กันไดใ้ นเวลานานอันรวดเร็วและมีการแขง่ ขนั ทางการคา้ และอตุ สาหกรรมในระดับโลก ในขณะเดียวกันทรัพยากรธรรมชาตกิ ็ลดจำนวนลงอยา่ งมากจากการวิเคราะห์ผลกระทบ ที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติประเภทต่าง ๆ และท่ีเกิดจากกิจกรรมในการดำรงชีวิตของ ประชากรมนุษย์ จะพบว่าระบบนิเวศธรรมชาติเกิดการเปลี่ยนแปลงและมีการสะสมของเสียเกิด มลภาวะท่ีสง่ ผลตอ่ เนื่องถงึ สุขภาพอนามยั ของมนษุ ยเ์ อง ปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดกับระบบนิเวศมีสาเหตุหลากหลาย บางปัญหาเกิดข้ึนในระดับ ท้องถ่ิน เช่น น้ำเสียที่เกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ในครัวเรือน อากาศเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมใน

1-10 ชุมชนเมือง บางปัญหาส่งผลกระทบระดับประเทศ เช่น การใช้พลังงานของคนในประเทศที่อาจ นำไปสู่วิกฤติการณ์ทรัพยากรพลังงาน บางปัญหามีความรุนแรงจนเป็นปัญหาระดับโลกท่ีต้องอาศัย ความร่วมมือจากประชากรท้ังโลกในการป้องกันแก้ไข เช่น ภาวะโลกร้อน และการทำลายโอโซนใน บรรยากาศ 1.5 ทรัพยากรธรรมชาติทีส่ ำคญั 1.5.1 ทรัพยากรปา่ ไม้ ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความจำเปน็ ตอ่ การดำรงชพี ของมนุษย์มาก ท้ังทางตรง และทางอ้อม เปน็ ท่ีทราบกันดีแลว้ ว่าป่าไม้ให้ที่อยู่อาศัย เครือ่ งนุ่งห่ม อาหาร และสมนุ ไพรนานาชนิด ต้ังแต่อดีตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน สำหรับประโยชน์ท่ีได้รับทางอ้อมนั้นมีมากมาย ยากที่จะนำมากล่าว หรือประเมินค่าเป็นเงินได้ ถึงแม้ว่าป่าไม้จะเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่งอกเงย หรือเพิ่มพูนขึ้นมาได้ แต่การพัฒนาของป่าไม้จะดำเนินไปได้อย่างช้ามาก และถ้าหากอัตราการนำไม้ป่ามาใช้น้อยกว่าอัตรา การงอกเงยของป่าไม้แล้วเป็นท่ีม่ันใจได้ว่าการขาดแคลนไม้ เพื่อนำมาใช้ก่อสร้างที่อยู่อาศัยจะไม่ เกิดขึ้นอย่างแน่นอน แต่ในสภาพปัจจุบันจำนวนพลเมืองของโลกเพิ่มขึ้น จึงทำให้จำเป็นต้องนำไม้มา ใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ มากข้ึนอย่างไม่ได้สัดส่วนกับการพัฒนาของป่าไม้ ย่ิงไปกว่านั้นป่าไม้เป็น จำนวนมากถูกถากถางเพ่ือนำพื้นที่มาใช้เพื่อเพาะปลูก หรือสร้างท่ีอยู่อาศัย และประโยชน์อื่น ๆ ซ่ึงนับได้ว่าเป็นวิธีการทำลายป่าไม้ท่ีสมบูรณ์แบบ และยากที่จะทำให้บริเวณน้ันกลายเป็นป่าไม้ ธรรมชาติตามเดิมได้ หากปล่อยให้อัตราการทำลายป่าไม้ของมนุษย์ดำเนินเช่นน้ีต่อไปความเสียหาย ต่าง ๆ ก็จะเกิดขึ้น เช่น เกิดภาวะอากาศแปรปรวน ดินหมดความอุดมสมบูรณ์ และขาดแคลน เชื้อเพลิง ในที่สุดพื้นท่ีเคยมีความชุ่มช้ืนและอุดมสมบูรณ์ก็จะค่อย ๆ พัฒนากลายเป็นทะเลทราย ตอ่ ไป สาเหตุสำคญั ทีป่ ่าไมข้ องโลกถูกทำลายลงไปอย่างรวดเรว็ (นวิ ัติ เรอื งพานิช, 2542) 1. ความเจริญก้าวหน้าทางดา้ นเทคโนโลยี จงึ ทำให้มีการประดษิ ฐ์คิดค้นเครือ่ งมือ เคร่ืองใช้ ตลอดจนเคร่ืองอำนวยความสะดวกตา่ ง ๆ ใหม่ ๆ ขนึ้ มา จงึ มีความต้องการใช้ไม้มากยิ่งขนึ้ 2. จำนวนประชากรเพ่ิมขึ้น ปัจจัยน้ีนับว่าเป็นตัวเร่งสำคัญท่ีทำให้ป่าไม้ถูก ทำลายอย่างรวดเร็ว ท้ังนี้เพ่ือจะนำทรัพยากรป่าไม้มาใช้ประโยชน์ และนำพื้นที่ป่าไม้มาใช้ ทำการ เกษตรกรรม ซงึ่ นับว่าจะมีแนวโน้มเพ่มิ มากยิ่งขึ้นเป็นลำดับ รฐั บาลของประเทศตา่ ง ๆ ได้ตระหนักใน เรื่องนี้โดยพยายามท่ีจะหาทางสกัดก้ัน และบำรุงรักษาป่าไม้ของตนไว้ เพื่อยังประโยชน์ แก่อนุชนรุ่นหลัง ตอ่ ไป

1-11 ปัจจยั ที่ทำใหป้ า่ ไมแ้ ตกต่างกัน ป่าไม้ที่ปรากฏกระจัดกระจายอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของโลกจะแตกต่ างกันทั้งลักษณะ ความหนาแน่น ขนาด ความสูง และชนิดของพันธุ์ไม้ เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะสภาพแวดล้อม ทาง ธรรมชาติ ซ่ึงได้แก่ 1. ลักษณะภูมิอากาศ 2. ความอุดมสมบูรณ์ของดิน 3. ลักษณะภูมิประเทศ และ 4. องคป์ ระกอบทางด้านชวี วิทยา 1. ลักษณะภูมิอากาศ (1) แสงสว่าง เป็นที่ยอมรับกันท่ัวไปว่า แสงสว่างจากดวงอาทิตย์จะมีอิทธิพล ต่อการเจริญเติบโตของพืชมาก ถ้าหากอัตราความเข้มของแสงลดลงจะส่งผลต่อการเจริญเติบโต การผลิดอก ออกผลและการผลิใบของพืช ตัวอย่างเช่น ในเขตภูมิอากาศร้อน ถ้าหากบริเวณน้ันไม่ขาดแคลนน้ำ ต้นไม้สามารถเจริญเติบโตตลอดทั้งปี จึงทำให้ ต้นไม้ในป่าดงดิบไม่ทิ้งใบ มีลำต้นขนาดใหญ่ และมี ความสูงมาก เปน็ ต้น (2) อุณหภูมิ จะมีความเก่ียวข้องกับความเข้มของแสงมาก ใบบริเวณ ท่ีได้แสง สว่างจากดวงอาทิตย์แจ่มจ้าตลอดท้ังวัน อุณหภูมิของอากาศจะสูงตลอดเวลาเช่นเดียวกัน อุณหภูมิของ อากาศจะมีอิทธิพลต่อการพัฒนาขนาด และความสูงของต้นไม้มาก ท้ังนี้เพราะต้นไม้จะเจริญงอกงาม ได้นั้น อุณหภูมิของอากาศจะต้องสูงกว่า 6 องศาเซลเซียสข้ึนไป ซ่ึงเรียกว่า “อุณหภูมิประเดิม” นอกจากน้ี อุณหภูมิของอากาศยังทำให้ลักษณะต้นไม้ทขี่ ้ึนในป่าไมแ้ ตกตา่ งกันอย่างเดน่ ชัด เช่น ต้นไม้เขตร้อนจะ แตกต่างไปจากต้นไม้ท่ีขนึ้ ในเขตอบอนุ่ หรือเขตหนาว เป็นตน้ (3) ปริมาณน้ำฝน นับว่าเป็นองค์ประกอบทางด้านภูมิอากาศ ท่ีมีความสำคัญ ต่อการพัฒนาป่าไม้มาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงในบริเวณท่ีมีอุณหภูมิของอากาศสูงกว่า 6 องศาเซลเซียส ดังจะ เห็นได้ว่าบริเวณต้นลมของภูเขาในเขตร้อนหรืออบอุ่นจะมีต้นไม้ข้ึนเบียดกันอย่างหนาแน่น ในทางตรงกัน ข้ามด้านปลายลมของภูเขาท่ีมปี ริมาณน้ำฝนตกลดลง ความหนาแน่น และขนาดของตน้ ไม้ จะมีความแตกต่าง กัน จึงทำให้สามารถนำมาใช้จำแนกชนิดของต้นไม้ออกได้ 4 กลุ่มด้วยกันคือ พืชชอบน้ำ พืชชอบแล้ง มัชฌิมพฤกษ์ และพืชทนชนื้ ทนแล้ง 2. ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ดินมีอิทธิพลต่อการพัฒนาป่าไม้มาก ในบริเวณ ที่ดินอุดมสมบูรณ์ และมีสภาพภูมิอากาศเหมาะสม ต้นไม้จะเจริญ เติบโตอย่างรวดเร็ว และ ขึ้นเบียดเสียดกัน อย่างหนาแน่น แต่สภาพภูมิอากาศอย่างเดียวกัน และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ต้นไม้จะเจริญเติบโตช้า ขนาดลำต้นจะเตี้ยและเล็กกว่าพ้ืนท่ีท่ีมีดินอุดมสมบูรณ์ ดังน้ันถ้าหากสังเกต จะพบว่าดินท่ีปกคลุม ด้วยป่าไม้จะดีกว่าดินที่ปราศจากพืชพรรณปกคลุม ทั้งนี้เพราะป่าไม้นอกจาก จะปอ้ งกันการเกดิ กษัยการของผวิ ดินแลว้ ยังชว่ ยเพ่มิ ปรมิ าณอนิ ทรยี วตั ถใุ ห้กบั ดินตลอดเวลาดว้ ย 3. ลักษณะภูมิประเทศ จะเกี่ยวขอ้ งกับความอดุ มสมบรู ณ์ของดนิ และปรมิ าณความชื้น ที่ดินสามารถอุ้มไว้ แต่ป่าไม้ที่พัฒนาขึ้นมาจะข้ึนอยู่กับความเหมาะสมของความช้ืนในดิน และความอุดม

1-12 สมบูรณ์ของดิน ด้วยเหตุนี้เองที่ราบหรือหุบเขาดินจะอุดมสมบูรณ์ และมีปริมาณความช้ืนมากกว่าตาม ไหล่เขาหรือลาดเขา ป่าไม้จึงสามารถเจริญงอกงามได้เป็นอย่างดีตามหุบเขาหรือที่ราบ ส่วนตามเนิน เขาหรือไหล่เขาต้นไม้จะมีขนาดเล็กย่ิงขึ้นเมื่อระดับความสูงของภูมิประเทศเพ่ิมขึ้น และปริมาณของ ตน้ ไม้จะมีไม่มากนกั 4. องค์ประกอบทางด้านชีวภาพ จะเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต และการ แพร่พันธุ์ ของต้นไม้มาก เพราะส่ิงมีชีวิตขนาดเล็กท้ังท่ีมีชีวิตอยู่ และตายแล้ว จะเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ ให้แก่ดิน ช่วยให้ต้นไม้เจรญิ เตบิ โตอย่างรวดเร็ว และพัฒนากลายเป็นป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ต่อไป ส่วนมนุษย์นั้นจะเป็น ตัวการที่ทำให้ป่าไม้เกิดการเปลี่ยนแปลง ดังจะเห็นได้จากป่าไม้บางแห่งจะถูกมนุษย์ทำลายลง จนกลายเป็น ทุ่งหญ้าหรือไร่ร้างในช่วงระยะเวลาอันสั้น นอกจากนี้สัตว์เลี้ยงท่ีมนุษย์นำมาใช้แรงงาน และปล่อยเข้าไปใน ป่าไม้จะแทะเลม็ ต้นอ่อนของไม้ให้หมดไป จึงทำให้การขยายจำนวนของตน้ ไม้ลดน้อยลง ชนิดของป่าไม้ ปา่ ไม้ทปี่ รากฏอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของโลกจะมีลกั ษณะแตกต่างกนั ออกไป ซ่ึงสามารถแบ่งออกได้ 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ 1. ป่าไม้เขตร้อน 2. ป่าไม้เขตอบอุ่น และ 3. ป่าไม้เขตหนาว ป่าไม้เหล่าน้ีจะมี ลักษณะทางด้านกายภาพ และพันธ์ุไม้ที่เจริญงอกงามอยู่แตกต่างกันอย่างเด่นชัด ซ่ึงสามารถท่ีจะแยก รายละเอยี ดมากลา่ ว ดังนี้ 1. ป่าไม้เขตร้อน เป็นป่าไม้ที่ข้ึนอยู่ในเขตภูมิอากาศร้อนและมีฝนตกตลอดท้ังปี มีฤดู แล้งส้ัน ๆ แทรกอยู่หรือจะมีฤดูฝนสลับกับฤดูแล้งอย่างละประมาณ 6 เดือน ป่าไม้ในเขตร้อน สว่ นใหญ่เป็นไม้เนอ้ื แข็งทมี่ ีประโยชน์นำมาใชเ้ พ่อื การก่อสรา้ ง แบ่งออกเป็น 3 ชนิดคอื (1) ป่าดงดบิ (2) ป่ามรสุม (3) ปา่ หนาม 2. ป่าไม้เขตอบอุ่น เป็นป่าไม้ท่ีพบอยู่ในเขตละติจูดกลางท่ีมีลักษณะภูมิอากาศอบอุ่น และชุ่มชน้ื พอเพียงสำหรบั การพฒั นาไม้ขึน้ มา เนื่องจากบริเวณนม้ี ีการตั้งถ่ินฐาน ของมนุษย์ติดต่อกัน มานาน จงึ ทำให้ปา่ ไม้สว่ นใหญ่ถูกถากถางลงเป็นจำนวนมาก แบ่งออกได้ 3 ชนิดดว้ ยกนั คอื (1) ป่าไม้อบอุ่นท้ิงใบ (2) ป่าไม้อบอุ่นไม่ท้งิ ใบ (3) ป่าเมดเิ ตอรเ์ รเนียน 3. ป่าไม้เขตหนาว จะเป็นป่าไมท้ ่ีพบในเขตภูมอิ ากาศอบอุ่นค่อนข้างหนาว และจะปรากฏให้ เห็นอย่างเด่นชัดอยู่เฉพาะในซีกโลกเหนือเท่านั้นเกือบทั้งหมดจะเป็นไม้เน้ืออ่อน ลำต้นขนาดเล็ก เม่ือนำมา เปรียบเทียบกับป่าไม้ในเขตร้อนแล้ว ซ่ึงมีชื่อเรียกว่า “ป่าสน” ลำต้นตรง กิ่งสั้น ใบแหลมไม่ทิ้งใบ และข้ึน เบียดเสียดกันอย่างหนาแนน่ ในรัสเซยี เรียกวา่ “ปา่ ไทกา้ ” ส่วนแคนาดาเรียกว่า “ป่าสนเหนอื ”

1-13 ประโยชนข์ องป่าไม้ ป่าไม้จะมีความผูกพันต่อการดำรงชีพของมนุษย์ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงมนุษย์ นำมาใช้ประโยชนท์ างดา้ นตา่ ง ๆ นานัปการ 1. วัสดุกอ่ สรา้ ง 2. วตั ถุดิบปอ้ นโรงงานอุตสาหกรรม 3. อาหาร 4. เชอ้ื เพลงิ 5. ยารกั ษาโรค 6. ชว่ ยปรบั สภาพภมู อิ ากาศในทอ้ งถิน่ 7. ด้านเทคโนโลยี 8. ดา้ นนนั ทนาการ 9. ลดความรนุ แรงของนำ้ ทว่ ม 10. เป็นแนวปอ้ งกนั ลมพายุ 11. เป็นถิ่นที่อยอู่ าศัยของสตั วป์ า่ 12. ประโยชน์ทางด้านสขุ วทิ ยา 13. ประโยชน์ดา้ นยทุ ธศาสตร์ 14. ชว่ ยเพ่มิ ความอุดมสมบรู ณใ์ หแ้ กด่ ิน 1.5.2 ทรัพยากรน้ำ อำนาจ เจริญศิลป์ (2543) น้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ อย่างมากมาย แต่จะ ปรากฏอยู่ในบริเวณจำกัด มิได้กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปทุกแห่ง ตามธรรมดาบรเิ วณแหล่งน้ำจืดท่ัว ๆ ไปจะมีคนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นก็เพราะประชาชนเหล่านั้นได้อาศัยน้ำ เพ่ืออุปโภคและบริโภค เพื่อการเกษตรกรรมและการขนส่งจึงอาจกล่าว ได้ว่า น้ำมีอิทธิพล ต่อการดำรงชีพ และการต้ังถ่ินฐาน ของมนุษย์เป็นอยา่ งมาก ดังนั้นจึงเป็นสิ่งท่ีเช่ือแน่ได้ว่า ปัญหาเรือ่ งน้ำ จะเพ่ิมมากย่ิงข้ึนเรื่อย ๆ อย่างไม่ต้อง สงสัย ในช่วงระยะเวลาที่ไม่นานมาน้ีเอง ได้มีผู้ให้ความสนใจ ในเรื่องการอนุรักษ์น้ำมากย่ิงขึ้น โดยมี การพยายามหาทางแก้ไขปัญหาตา่ ง ๆ วัฏจกั รของน้ำ วัฏจักรของน้ำจะเกี่ยวข้องกับการเคล่ือนท่ีของน้ำจากทะเลและมหาสมุทรข้ึนไปยัง อากาศจากอากาศก็จะกล่ันตัวกลายเป็นเมฆแลว้ ตกลงมาเป็นฝน น้ำฝนที่ตกลงมาบนพื้นดิน ก็จะไหล ตามผิวดนิ ลงสู่แม่น้ำลำคลอง และไหลลงสู่ทะเลตามเดมิ ปริมาณไอนำ้ ท่อี ยู่ในอากาศจะระเหยมาจาก แหล่งน้ำ ดินที่ชื้นแฉะ การคายน้ำของพืช การหุงต้ม และการเผาไหม้จากโรงงานอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม อาจกล่าวได้ว่า ไอน้ำท่ีปะปนอยู่ในอากาศนั้นส่วนใหญ่ จะระเหยมาจากทะเลและ

1-14 มหาสมุทร แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า ไอน้ำที่ระเหยมาจากทะเล และมหาสมุทรจะกลายเป็นฝนตกลงสู่ พื้นดินท้ังหมด ทั้งน้ีก็เพราะจะมีไอน้ำท่ีระเหยมาจากทะเลและมหาสมุทรควบแน่นกลายเป็นเมฆ และเปน็ ฝนตกลงส่ทู ะเลโดยตรงกม็ ี นำ้ ทนี่ ำมาใช้ 1. นำ้ ในลำน้ำ มนุษย์ส่วนใหญ่จะเข้าไปต้งั ถิ่นฐานอยู่ตามริมแมน่ ้ำลำคลอง ท้ังนี้เพราะบริเวณ ดงั กลา่ วเปน็ แหล่งน้ำจืดทส่ี ำคัญทสี่ ุด จำนวนน้ำทีน่ ำมาใช้เพ่ือการอุตสาหกรรม 90% ได้มาจากแหล่งนำ้ ตาม แม่น้ำลำคลองเช่นเดียวกัน น้ำท่ีปรากฏอยู่ตามแหล่งน้ำลำธารนี้จะได้มาจากน้ำฝน หรือหิมะท่ีตกลงมา บนพื้นดิน และไหลไปรวมกันตามแม่น้ำลำคลอง เนื่องจากสภาพความผันแปรของปริมาณน้ำฝน ลักษณะภูมิ ประเทศ และโครงสร้างของดิน จึงทำให้ปริมาณน้ำท่ีมีอยู่ในแม่น้ำลำคลองของแต่ละแห่ง บนพ้ืนโลกแตกต่าง กนั ออกไป ลำน้ำอาจจะมีปรมิ าณมากในชว่ งฤดูหน่งึ แตใ่ นชว่ งฤดูอื่น ๆ ปริมาณนำ้ จะลดน้อยลงไป 2. น้ำใต้ดิน ในบริเวณพื้นโลกบางแห่งท่ีน้ำผิวดินมีไม่เพียงพอ กับความต้องการของ มนุษย์ มนษุ ย์จะพยายามเสาะแสวงหานำ้ ใต้ดนิ มาใช้เพิ่มเติม น้ำใต้ดินจะไหลซึม อยู่ในช่องว่างของดิน ทรายหรือหินทยี่ อมให้น้ำผา่ นในประเทศทขี่ าดแคลนน้ำมาก ๆ ตวั อยา่ งเช่น ในสหรฐั อเมริกาจะสูบน้ำ ใต้ดินข้ึนมาใช้ถึง 15-20% ของน้ำที่นำมาใช้ท้ังหมด ส่วนในประเทศไทยนั้น การนำน้ำใต้ดินข้ึนมาใช้ ส่วนมากจะนำมาใช้เพ่ือการประปามากท่ีสุด สำหรับน้ำใตด้ ินที่นำมาใช้ ในการเกษตรน้ัน ยังทำกันไม่ กว้างขวางนัก จากการที่สูบน้ำใต้ดินขึ้นมาใช้อย่างมากมายน้ีเอง จึงทำให้ปริมาณของน้ำใต้ดิน ลดน้อยลง บางแห่งน้ำใต้ดินที่สูบข้ึนมาใช้จนหมด เป็นเหตุท่ีทำให้น้ำในแม่น้ำ ลำคลองบริเวณ ใกล้เคียงแห้งตามไปด้วย ระดับของน้ำใต้ดินน้ีจะมีปริมาณข้ึน-ลงตามฤดูกาล กล่าวคือ ในช่วงฤดูแล้ง ระดับน้ำใต้ดินจะลดต่ำลง ส่วนในช่วงฤดูฝนระดับน้ำใต้ดินจะสูงข้ึน ทั้งน้ี เพราะน้ำฝนจากผิวดินไหล ซึมลงไปเพิ่มเติม การนำเอาน้ำใต้ดินมาใช้เป็นบางคร้ังบางคราว จะทำให้อายุการใช้ น้ำใต้ดินยืนยาว ออกไป ตรงกันข้ามถ้าสูบน้ำใต้ดินข้ึนมาใช้ตลอดเวลาในช่วงระยะเวลาอันยาวนาน จะทำให้ปริมาณ น้ำใต้ดินลดลง และทำให้เกิดน้ำใต้ดินเค็ม หรือมีความเข้มของแร่ธาตุเพิ่มข้ึน จนนำมาใช้บริโภคและ อปุ โภคไม่ได้ 3. น้ำจากทะเล อันท่ีจริงแล้วทะเลเป็นแหล่งน้ำท่ีมีขนาดใหญ่ แต่เนื่องจากน้ำมีแร่ธาตุ ตา่ ง ๆ ที่น้ำพามาสะสมอยู่เป็นจำนวนมาก จึงทำให้น้ำทะเลมีรสเค็ม ดังน้ันบริเวณ ที่ขาดแคลนน้ำจืด ทอ่ี ยูใ่ กล้กับทะเลจึงพยายามแปรสภาพนำ้ ทะเลใหก้ ลายเป็นน้ำจดื ขน้ึ เพ่อื ใชใ้ นกิจการต่าง ๆ 4. น้ำฝน เป็นน้ำจืดที่ได้รับโดยตรงจากฝนท่ีตกลงมา บริเวณใดจะได้น้ำจืดจากฝนมาก หรือน้อยน้ัน จะข้ึนอยู่กับสภาพของลมฟ้าอากาศ ลักษณะภูมิประเทศ ทิศทางของลม หรืออิทธิพล อื่น ๆ นอกจากนี้ยังข้ึนอยู่กับความสม่ำเสมอของฝนที่ตก และการกระจายของปริมาณน้ำฝนด้วย ในบางแหง่ น้ำฝนทต่ี กลงมาจะไมส่ ามารถนำมาใชอ้ ปุ โภคและบริโภคได้ ท้งั น้กี ็เพราะน้ำฝนจะมพี วกฝุ่น

1-15 ละออง เถ้าถ่านจากโรงงานอุตสาหกรรม และสารเคมีต่าง ๆ ที่ลอยอยู่ในอากาศ เช่น กำมะถัน ไดออกไซด์ เปน็ ตน้ ผสมอยู่อันเป็นเหตทุ ำใหน้ ำ้ ฝนไม่บริสทุ ธ์ิ ประโยชนข์ องน้ำ 1. การชลประทาน 2. การใชน้ ้ำเพ่ือการอตุ สาหกรรม 3. การใช้น้ำในบ้าน 4. การใช้นำ้ เพอ่ื พลงั งานไฟฟา้ 5. การใชน้ ้ำในการคมนาคมขนสง่ 6. นำ้ เป็นทอ่ี ยู่อาศยั ของสัตวน์ ้ำ 7. ใชป้ ระโยชนท์ างด้านนันทนาการ 1.5.3 ทรพั ยากรดนิ วิชัย เทียนน้อย (2542) ดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีความผูกพันต่อวิถีการดำรงชีวิต มนุษย์มาก ทั้งน้ีเพราะดินเป็นบ่อเกิดแห่งอาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค หรือ อาจจะกล่าวได้อีกนัยหนึ่งก็คือดินมีความสำคัญมาก นอกจากเป็นแหล่งสะสมอาหารของพืชแล้ว ยังใช้เป็นถ่ินที่อยู่สำคัญของพืช สัตว์และมนุษย์อีกด้วย ดินถึงแม้ว่าเราจะพบ อยู่ทั่วไปทุกหนทุกแห่ง แต่ก็จัดว่าเป็นส่ิงแวดล้อมท่ีมนุษยม์ ีความเข้าใจต่อทรัพยากรชนิดนี้น้อยมาก จึงทำให้เกิดความรู้สึกว่า การเปลี่ยนแปลงของดินที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะมีสาเหตุมาจากธรรมชาติหรือการเกษตรผิดวิธีก็ตาม จะเป็นการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ท้ังที่ความจริงแล้วการสูญเสียความอุดม สมบูรณ์ของดินจะเป็นส่ิงท่ีไม่สามารถประเมินค่าได้ ดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีการกำเนิดการ เปลี่ยนแปลง และการสูญเสียเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาในขณะเดียวกันดินก็สามารถ ท่ีจะปรับปรุงให้มี ความอุดมสมบูรณ์ข้ึนมาได้ กระบวนการเกิดดินจะดำเนินต่อเน่ืองกันไปอย่างช้า ๆ นักปฐพีวิทยามีความ เชื่อว่า ดินที่พัฒนาความหนาได้ 1.5 ซม. จะต้องใช้เวลาอย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 100 ปี แต่ดินอาจจะถูกกษัย การจากตัวการธรรมชาติไม่วา่ จะเปน็ น้ำไหล ธารน้ำแข็ง หรือกระแสลมก็ตาม ในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ เท่าน้ัน มนุษย์ดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยู่บนพื้นดิน จึงทำให้เกิดการเปล่ียนแปลงคุณสมบัติ ข้ึนมาโดยตลอดตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน เพียงแต่จะแตกต่างกันในเร่ืองอัตราความเข้มข้นเท่าน้ัน เช่น การถากถางป่าเพื่อนำพ้ืนที่มาทำการเพาะปลูกตามไหล่เขา และการนำปุ๋ยเคมีมาปรับปรุงดินที่ ขาดหลักวชิ าการเป็นตน้ วธิ ดี ำเนนิ การดงั กลา่ วของมนษุ ย์สง่ ผลกระทบต่อคุณภาพของดนิ มาก กระบวนการเกดิ ดนิ ดินท่ีพัฒนาข้ึนมาในส่วนต่าง ๆ ของโลกจะต้องใช้เวลายาวนาน องค์ประกอบที่ส่งเสริม ให้เกดิ การพฒั นาของดนิ ทส่ี ำคัญไดแ้ ก่

1-16 1. วตั ถกุ ำเนิดดนิ วัตถุกำเนิดท่ีสำคัญนอกจากหินแล้วยังประกอบด้วยอินทรียวัตถุท่ีเน่าเป่ือยผุพัง ผสมผสานลงไปในดิน หินที่แตกสลายกลายเป็นดินจะเกิดจากการผุพังสลายตัวท้ังทางเคมี และ กลศาสตร์ นอกจากน้ียังเกิดจากกระบวนการพัดพาของลมการครูดไถและการผุตัวที่เกิดจาก การกระทำของน้ำไหล ธารน้ำแข็ง หรือกระแสน้ำชายฝ่ัง ความแตกต่างของเนื้อดินแม้ว่า จะเกิดจาก วัตถุกำเนิดดินชนิดเดียวก็อาจจะแตกต่างกันได้ ท้ังน้ีเพราะอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อม ทางภูมิศาสตร์ ที่แตกต่างกัน ดินท่ีเกิดขึ้นมาใหม่จะมีลักษณะท่ัวไปคล้ายคลึงกับวัตถุกำเนิดดินมาก แต่เม่ือดินได้ พัฒนาไปอีกชว่ งระยะเวลาหนง่ึ จะทำให้เนื้อดินแตกต่างไปจากหินตน้ กำเนิดมากยง่ิ ขนึ้ 2. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ลักษณะภูมิประเทศจะมีส่วนเก่ียวข้องกับการเกิดดินมาก ทั้งนี้เพราะจะเข้า เก่ียวข้องกับการพังทลายหรือการคงอยู่ของดิน ในพ้ืนท่ีราบจึงมีชั้นหนากว่า ตามท่ีลาดเอียงหรือลาด ชัน ซ่ึงตามภูมิประเทศลาดเอียงน้ันดินท่ีพัฒนาขึ้นมามักจะถูกตัวการธรรมชาติชะพาลงสู่ท่ีต่ำอยู่ ตลอดเวลา และภาพหน้าตัดของดนิ จะไมค่ รบทุกช้ัน 3. เวลา เวลาจะเป็นตัวช่วยในการพัฒนาดิน เพราะกว่าดินจะกำเนิดขึ้นมาได้ต้องใช้ ระยะเวลาทยี่ าวนานกว่าจะบรรลุถึงภาวะชั้นสูงสุดได้ ตัวอย่างเชน่ ดินท่พี บอยู่ในเขตภูมิอากาศชุม่ ช้ืน และมีพ้ืนที่เป็นทราย กว่าจะพัฒนาดินให้ครบได้ทุกช้ันจะต้อง ใช้เวลาถึง 100 –200 ปี ส่วนดินใน แถบศูนย์สูตรจะต้องใช้เวลานานถึง 1 –6 ล้านปี ดังน้ันจึงกล่าว ได้ว่า การพัฒนาดินจะถึงข้ันสมบูรณ์ แบบจำต้องอาศยั เวลา ซ่ึงจะมากหรือน้อยสุดแล้ว แต่สภาพแวดล้อม ในบริเวณน้นั ๆ จะเอ้อื อำนวย 4. ลักษณะภมู อิ ากาศ องค์ประกอบทางด้านภูมิอากาศท่ีมีอิทธิพลต่อการพัฒนาดิน ท่ีสำคัญคือ (1) ความชน้ื (2) อุณหภมู แิ ละ (3) ลม (1) ความช้ืน ในบริเวณท่ีมีสภาพภูมิอากาศชุ่มช้ืน กระบวนการเกิดดินจะ เป็นไปได้อย่างรวดเร็วกว่าในเขตแห้งแล้ง ทั้งน้ีเพราะความชื้นจะทำให้เกิด “พลังอุทก” และการผุพัง สลายตวั ทางเคมีท่เี รียกว่า “กระบวนการอุทก” ท่ีเกิดกับหนิ ดานที่เป็นต้นกำเนิดดนิ สำคญั นอกจากนี้ ความชื้นยังมีส่วนทำใหส้ ่วนประกอบของดินแตกต่างกัน เช่น ดินในเขตภมู อิ ากาศชุ่มช้นื จะอดุ มไปด้วย ธาตุหนัก เช่น เหล็ก และอะลูมิเนียม แต่ในเขตภูมิอากาศแห้งแล้ง ดินจะมีแร่ธาตุจำพวกด่างผสมอยู่ ในอัตราสูง เปน็ ต้น (2) อุณหภูมิ จะมีอิทธิพลต่อการดำเนินดิน 2 ประการ คือ ช่วยเร่ง ปฏิกิริยาทางเคมที ่ีเกิดกับหินดาน และช่วยกระตุ้นให้การย่อยสลายของอินทรียวัตถุ จากแบคทีเรียใน เขตภมู อิ ากาศที่หนาวเย็น

1-17 (3) ลม จะเป็นปัจจัยทางด้านภูมิอากาศที่ทำให้หินผุพังกลายเป็นดินได้ดี เฉพาะในเขตภูมิอากาศที่แห้งแล้ง กล่าวคือในขณะที่ลมพัดจะทำให้ “หินโผล่” (Outcrop Rock) ขึน้ มาแตกสลาย และกลายเปน็ ดินในลำดับต่อไป 5. ปจั จยั ด้านชวี วทิ ยา ทั้งสัตว์และพืชจะมีส่วนสำคัญที่ทำให้ดินดาน หรือหินโผล่ แตกสลายกลายเป็น ดนิ เช่น รากพชื หย่ังลงไปตามรอยรา้ วหิน สัตว์เหยยี บย่ำ หรอื การประกอบกิจกรรมตา่ ง ๆ ของมนษุ ย์ เป็นต้น นอกจากน้ีพืชและสัตว์ท่ีล้มตายลง เม่ือเน่าเป่ือยจะสลายตัว ปะปนกลายเป็น“ขุยอินทรีย์” (Humus) ในดินตอ่ ไป ซึ่งจะชว่ ยเพิ่มความอุดมสมบรู ณใ์ ห้กบั ดนิ ส่วนประกอบของดนิ สว่ นประกอบที่สำคญั ของดินประกอบไปดว้ ยของแขง็ ของเหลวและก๊าซ ดนิ ท่เี หมาะสม สำหรับนำมาใชใ้ นการเพาะปลกู จะต้องมสี ว่ นประกอบของดนิ ที่เหมาะสม 1. ของแขง็ ส่วนประกอบหลักของดนิ จะเป็นของแขง็ ได้แก่ (1) อินทรียวัตถุซ่ึงเป็นส่วนต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิตท่ีเน่าเป่ือยผุพัง ลงไปในดิน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงอินทรีย์ท่ียังมีชีวิตอยู่และอาศัยอยู่ในดิน ซ่ึงได้แก่ ไส้เดือน แมลง เห็ดรา และ แบคทเี รยี เปน็ ตน้ (2) อนินทรีย์สารซึ่งเป็นส่วนประกอบที่อยู่ในเน้ือดินมากที่สุด และเกือบท้ังหมด สลายตัวมาจากหินดาล ซึ่งได้แก่แร่ธาตุต่าง ๆ ท้ังที่มีสภาพเป็นกรดหรือด่าง แร่ธาตุที่ผสมอยู่ในดิน มากที่สุดคอื ออกซิเจน (47%) รองลงมาคอื ซิลคิ อน (28%) อะลูมเิ นียม เหล็ก แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม และแมกนีเซียม ซ่ึงมีปริมาณรวมกันราว 23% ส่วนที่เหลือเป็นแร่ธาตุชนิดอ่ืนอีกมากกว่า 90 ชนิด 2. ของเหลวจะเป็นความช้ืนท่ีปรากฏอยู่ในดินท่ีอยู่ในรูปของความชื้น และน้ำใต้ดิน ซึ่งจะแบง่ ออกได้ 3 ลักษณะ คือ (1) น้ำเหลือ คือน้ำที่ไหลซึมผ่านชั้นดินลงสู่ดินช้ันล่างหรือหินดาน และน้ำที่ไหล ผ่านผิวดนิ ลงส่แู หล่งน้ำทใี่ กลเ้ คยี ง เป็นนำ้ ที่พชื นำ้ มาใช้ประโยชน์น้อยมาก (2) น้ำซับเป็นน้ำที่แช่ขังอยู่ในระหว่างเม็ดดิน เป็นความช้ืนท่ีพืชนำมาใช้เพ่ือการ เจริญเติบโตได้ (3) น้ำเย่ือ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าน้ำจับดินเป็นความชื้นท่ีเกาะจับอยู่กับเม็ดดิน ซ่ึงมีสถานะภาพคร่ึงเหลวครง่ึ ไอ ความชน้ื ชนิดน้พี ชื ไม่สามารถดูดซบั มาใช้ เพือ่ การเจริญเติบโตได้ 3. ก๊าซที่แทรกตัวอยู่ในดินจะมีความสำคัญต่อความอุดมสมบูรณ์ของดินเช่นกัน ซึ่งส่วน ใหญ่จะแทรกซอนอยู่ในระหว่างเม็ดดิน ส่วนประกอบของอากาศที่แทรกอยู่ในดินนี้จะมีคาร์บอนได้

1-18 ออกไซด์มากกว่าออกซิเจน แต่ปริมาณก๊าซไนโตรเจนจะคงเดิม อากาศที่ผสมอยู่ในดินจะช่วยให้ส่ิงมีชีวิต ในดนิ ดำรงชวี ติ อยู่ได้ และช่วยในการงอกของเมล็ดพืชที่หว่านหรือปลูกลงไปในดนิ ประโยชน์ของดิน ดินเป็นทรัพยากรท่ีมนุษย์มีความคุ้นเคยมากท่ีสุด และมีความสำคัญ ต่อการดำรงชีพ ของมวลมนุษยชาติ ส่ิงมีชีวิตเกือบทุกชนิดจะพึ่งพาอาศัยดินเพ่ือความอยู่รอด ดังนั้นดนิ จึงมีประโยชน์ นานัปการ และพอจะนำมากล่าวโดยสรุปไดด้ ังน้ี 1. การเกษตรกรรม 2. แหลง่ ท่อี ยู่อาศัย 3. การดำเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ 4. การนนั ทนาการ 1.6 ระบบนิเวศ องค์ประกอบของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ การหมุนเวยี นธาตอุ าหารในระบบนเิ วศ ส่ิงแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเราประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ส่ิงมีชีวิตมีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกัน และกัน และสัมพันธ์กับส่ิงท่ีไม่มีชีวิต มีการใช้พลังงานและแลกเปล่ียนสารอาหารซ่ึงดำเนินไปภายใต้ความ สมดุลของธรรมชาติเรียกว่า ระบบนิเวศ แตถ่ ้าระบบนิเวศขาดความสมดลุ หรือถูกทำลาย ย่อมเกิดผลกระทบ ตอ่ การดำรงชีวติ ของสรรพสิง่ ในระบบ ทำใหม้ นษุ ยเ์ ห็นความสำคญั ของระบบนิเวศและรูจ้ ักการนำส่ิงแวดลอ้ ม มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์และช่วยแกไ้ ขปัญหาความเสอ่ื มโทรมของระบบนเิ วศ 1.6.1 ความหมายของระบบนิเวศ ระบบนิเวศ (Ecosystems) หมายถึง หน่วยพ้ืนที่หน่ึงประกอบด้วยสังคมของส่ิงมีชีวิต กับส่ิงแวดล้อมทำหน้าท่ีร่วมกัน ระบบนิเวศเป็นระบบที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดของ สิ่งมีชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม โดยการลำดบั ขน้ั ของการกนิ แบบต่าง ๆ ตลอดจนการหมุนเวยี นของสารแร่ธาตุ และ การถ่ายทอดพลังงาน จนทำให้เกิดองค์ประกอบของระบบนิเวศมีลักษณะต่าง ๆ กัน (คณะกรรมการบริหาร วชิ าการบูรณาการ หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป, 2543) ลกั ษณะท่ีสำคัญของระบบนเิ วศ 1. ระบบนิเวศหน่ึง ๆ ต้องมีอาณาบริเวณท่ีมีขอบเขตพื้นท่ีแน่นอน จะต้องมีลักษณะ ทางกาย ภาพประกอบเด่นชัดจนสามารถแยกออกจากขอบเขตของอาณาบริเวณพ้ืนท่ีอื่น ๆ ได้ เช่น ขอบเขตพื้นท่ี ทีแ่ ยกออกจากกนั อยา่ งเดน่ ชัดระหวา่ งบริเวณปา่ ดิบร้อนช้ืนกับบริเวณป่าผลดั ใบเขตร้อน เปน็ ต้น 2. ระบบนิเวศหนึ่ง ๆ จะประกอบด้วยกลุ่มสิ่งมีชีวิตซึ่งประกอบข้ึนจากกลุ่มของประชากรพืช สัตว์และมนุษย์ โดยปรากฏอยู่ร่วมกับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพลักษณะต่าง ๆ เช่น สภาวะลมฟ้าอากาศ

1-19 น้ำที่มีอยู่ตามธรรมชาติ พ้ืนดินและลักษณะภูมิประเทศต่าง ๆ รวมถึงส่ิงท่ีมนุษย์สร้างขึ้น เช่น ความเชื่อ อาคารสง่ิ กอ่ สร้างตา่ ง ๆ 3. ระบบนิเวศหนึ่ง ๆ ส่ิงต่าง ๆ ท่ีประกอบอยู่ในระบบนิเวศจะมีความสัมพันธ์เก่ียวเนื่องกัน ตลอดเวลาในลักษณะของการมกี จิ กรรมภาระหน้าทีร่ ะหวา่ งกนั อย่างเป็นระบบ ทัง้ นีเ้ พอื่ การคงอยูไ่ ดต้ ามปกติ ของโครงสร้างและส่วนประกอบต่าง ๆ ในระบบนเิ วศนัน้ ๆ ประเภทของระบบนเิ วศ (นิวัติ เรอื งพานิช, 2542) 1. การจำแนกโดยลกั ษณะทางภูมศิ าสตรเ์ ปน็ เกณฑ์ สามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบ คอื (1) ระบบนิเวศพื้นดิน (Terrestrial Ecosystems) เช่น ระบบนิเวศป่าดิบเขา ระบบนิเวศ ป่าชายเลนระบบนิเวศปา่ เต็งรัง ระบบนิเวศทุง่ หญ้า ระบบนิเวศทะเลทราย ระบบนเิ วศป่าดิบชน้ื เป็นตน้ (2) ระบบนิเวศน้ำ (Aquatic Ecosystems) เช่น ระบบนิเวศน้ำจืดระบบนิเวศน้ำเค็ม ระบบนเิ วศน้ำกร่อย เป็นต้น 2. การจำแนกโดยใช้ขนาดพ้ืนที่ของระบบนิเวศนัน้ สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ขนาด ดงั น้ี (1) ระบบนเิ วศขนาดใหญ่ เช่น ป่าเบญจพรรณ ทะเลสาบ มหาสมุทร ทงุ่ หญ้า เป็นต้น (2) ระบบนิเวศขนาดเลก็ เชน่ แอง่ น้ำในลอ้ ยางรถยนตเ์ ก่า กงิ่ ไมผ้ ุในปา่ เปน็ ตน้ 3. การจำแนกโดยใช้ลักษณะการนำมาประยุกต์ใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และการ ดำรงชพี (1) ระบบนิเวศสมบูรณ์ หมายถึง ระบบนิเวศที่มีองค์ประกอบครบทั้งส่วนท่ีเป็นกลุ่ม สิ่งมีชีวิต ซึ่งได้แก่ผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้ย่อยสลาย และกลุ่มท่ีเป็นปัจจัยทางกายภาพ เช่น แสงความชื้น อากาศ เป็นตน้ ระบบนเิ วศส่วนใหญ่ในธรรมชาติจะเป็นแบบน้ี เช่น สระน้ำปา่ ผลัดใบ (2) ระบบนิเวศไม่สมบูรณ์ หมายถึง ระบบนิเวศท่ีมีองค์ประกอบไม่ครบ อาจขาดปัจจัย บางส่วนในระบบนิเวศน้ัน เช่นบริเวณเขตทะเลลึกในที่แสงส่องไม่ถึง หรือบริเวณถ้ำค้างคาวร้อยล้าน จังหวัดราชบุรี เป็นต้น ในบริเวณท่ีเป็นระบบนิเวศไม่สมบูรณ์น้ีส่วนใหญ่จะไม่มีผู้ผลิตโดยเฉพาะพืช ดังนั้น การมีชีวิตอยู่ของผู้บริโภคในเขตระบบนิเวศแบบนี้ต้องกินซากอินทรีย์จากการตกตะกอน หรือออกไปกิน ใน บริเวณอ่ืน เช่น พวกค้างคาวทีอ่ าศยั ในถ้ำไปหากินท่อี ่ืน 1.6.2 องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ องค์ประกอบที่มีชีวิตหรือองค์ประกอบทางชีวภาพ ส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศแบ่งเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ (นวิ ัติ เรืองพานิช, 2542) 1. ผู้ผลิต (Producer หรือ Autotroph) หมายถึง ส่ิงมีชีวิตท่ีสามารถสร้างอาหารได้เอง โดยวิธีการสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) สิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทเป็นผู้ผลิต ได้แก่ พืช แพลง ตอนพืช และแบคทีเรียบางชนิด ผู้ผลิตทุกชนิดจะมีรงควัตถุสีเขียวชื่อคลอโรฟิลล์ (Chlorophyll)

1-20 ซึง่ สามารถตรงึ พลังงานแสงอาทิตย์มาทำปฏิกิริยาทางเคมีร่วมกับวัตถุดิบในธรรมชาติ คือ น้ำและก๊าซ คารบ์ อนไดอ้ อกไซด์ ผลผลิตทีไ่ ดจ้ ากกระบวนการสังเคราะห์แสงน้ีคือ (1) คาร์โบไฮเดรต ซึ่งจะเก็บสะสมไว้ในพืช และเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ ส่ิงมชี ีวิตอ่นื ท่ีได้รับเข้าไปในรปู ของอาหาร (2) ก๊าซออกซิเจนจะคายออกทางปากใบของพืช แล้วแพร่ไปในบรรยากาศซ่ึงมี ประโยชน์ ทั้งตอ่ มนษุ ยแ์ ละระบบนเิ วศในหลายกรณี 2. ผู้บริโภค (Consumer) หมายถึงส่ิงมีชีวิตท่ีไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ด้วยตนเอง และดำรงชีวติ อยู่ดว้ ยการกินสง่ิ มชี ีวิตอืน่ จำแนกได้ 3 กล่มุ คอื (1) สิ่งมีชีวิตท่ีกินพืชเป็นอาหารอย่างเดียว (Herbivore) เช่น กระต่าย วัว ม้า ช้าง ผเี สือ้ เลียงผา แมลง แพลงก์ตอนสตั ว์ และปลาที่กินพชื เล็ก ๆ เปน็ ต้น (2) ส่ิงมีชีวิตที่กินสัตว์เป็นอาหารอย่างเดียว (Carnivore) เช่น เสือ เหย่ียว กบ ลิ่น นกแต้วแล้ว งู นกฮกู สงิ โต นกเค้าแมว จระเข้ สนุ ขั จ้งิ จอก เปน็ ตน้ (3) สิ่งมีชีวิตท่ีกินท้ังพืชและสัตว์เป็นอาหาร (Omnivore) เช่น นกท่ีกินท้ังแมลง และเมล็ดพืช (นกหวั ขวาน) มนุษย์ สนุ ัข แมว ไก่ หมู เป็ด เปน็ ต้น 3. ผยู้ ่อยสลาย (Decomposer) หมายถงึ ส่งิ มีชีวิตที่ไมส่ ามารถสรา้ งอาหารเองได้ แต่จะ ได้อาหารโดยการผลิตเอนไซม์ออกมาย่อยสลายซากของสิ่งมีชีวิต ของเสียและกากอาหาร ให้เป็นสาร ที่มีขนาดโมเลกุลขนาดเล็ก แล้วจึงดูดซึมไปใช้เป็นอาหารบางส่วน ส่วนที่เหลือจะตกค้างอยู่ในดิน กลายเป็นธาตุอาหารของพืชต่อไป สิ่งมีชีวิตท่ีมีบทบาทเป็นผู้ย่อยสลายได้แก่ แบคทีเรีย เห็ด เช้ือรา และยีสต์ จึงนับว่าในระบบนิเวศหน่ึง ๆ ผู้ย่อยสลายเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้สารอาหารหมุนเวียนเป็น วฏั จกั ร ดังภาพที่ 1.1 ภาพที่ 1.1 ผยู้ ่อยสลาย ท่ีมา : http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=35255

1-21 องค์ประกอบท่ีไม่มีชีวิต หรือองค์ประกอบทางกายภาพ ได้แก่ แสงสว่าง อุณหภูมิ ความชื้น กระแสน้ำ อากาศ ไฟ ลม ความเป็นกรด- ด่าง เป็นต้น โดยองค์ประกอบต่าง ๆ เหล่าน้ีมี อิทธิพลต่อส่ิงมีชีวิตในด้านต่าง ๆ คือ มีอิทธิพลต่อการสร้างอาหาร มีอิทธิพลต่อการขยายพันธุ์และ การแพร่กระจาย มีอิทธิพลตอ่ พฤตกิ รรมการดำรงชีวติ และการปรับตัวของสิ่งมชี วี ติ 1.6.3 ความสัมพันธ์ของส่ิงมชี ีวติ กับสิง่ มชี วี ิตในระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตด้วยกันมีอยู่หลากหลายรูปแบบคือ (กฤษณ์ มงคลปัญญา และคณะ, 2540) 1. ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation: + ,+ ) หมายถงึ การอยู่รว่ มกันของ ส่ิงมีชีวิต 2 ชนิด โดยส่ิงมีชีวิตทั้งสองได้รับประโยชน์ซึ่งกันและกัน แม้แยกกันอยู่ก็สามารถดำรงชีวิต ได้ตามปกติ เชน่ (1) แมลงกับดอกไม้ : แมลงได้รับน้ำหวานจากดอกไม้ ส่วนดอกไม้ได้แมลงช่วยผสม เกสรทำให้แพร่พนั ธ์ไุ ดด้ ีขึน้ ดังภาพท่ี 1.2 ภาพที่ 1.2 แมลงกบั ดอกไม้ ท่ีมา:https://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_ordinarycourse1/wiki/2ef0e/_3_.html (2) ปเู สฉวนกบั ดอกไมท้ ะเล ดอกไม้ทะเลซ่ึงเกาะอยู่บนปูเสฉวนช่วยป้องกนั ภยั และพราง ตัวใหป้ ูเสฉวน สว่ นปูเสฉวนชว่ ยให้ดอกไม้ทะเลเคลอื่ นที่หาแหล่งอาหารใหม่ ๆ ไดด้ งั ภาพที่ 1.3

1-22 ภาพท่ี 1.3 ปูเสฉวนกบั ดอกไม้ทะเล ทีม่ า: http://www.oknation.net/blog/dreamline/2009/08/24/entry-1 (3) มดดำกับเพลี้ย : มดดำช่วยป้องกันอันตราย และพาเพลี้ยไปยังส่วนต่าง ๆ ของ พชื ที่ดดู นำ้ หวาน โดยมดดำจะไดร้ บั น้ำหวานทเี่ พลี้ยดูดจากพชื ด้วย ดังภาพท่ี 1.4 ภาพท่ี 1.4 มดดำกับเพลีย้ ทีม่ า : https://www.google.co.th/webhp (4) นกเอ้ียงกับควาย : นกเอ้ียงช่วยกินแมลงและปรสิตบนหลังควาย รวมท้ังช่วย เตือนภยั ให้แกค่ วายอีกดว้ ย ดงั ภาพที่ 1.5

1-23 ภาพท่ี 1.5 นกเอย้ี งกับควาย ทม่ี า : https://www.winnews.tv/news/5721 2. ภาวะพึ่งพา (Mutualism: +,+) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของส่ิงมีชีวิต 2 ชนิด โดย ต่างก็ได้รับประโยชน์ซ่ึงกันและกัน หากแยกกันอยู่จะไม่สามารถดำรงชีวิตต่อไปได้ เช่น ไลเคน (Lichens) : สาหร่ายอยู่ร่วมกับสาหร่าย สาหร่ายได้รับความช้ืนและแร่ธาตุจากรา ราได้รับอาหาร และออกซเิ จนจากสาหร่าย ดังภาพท่ี 1.6 ภาพที่ 1.6 ไลเคนส์ ท่ีมา:https://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_ordinarycourse1/wiki/2ef0e/_3_.html (1) โพรโทซัวในลำไส้ปลวก : โพรโทซวั ชนิด Trichonympha sp. ช่วยยอ่ ยเซลลโู ลสให้ ปลวก ปลวกให้ทอ่ี ยู่อาศยั และอาหารแกโ่ พรโทซวั

1-24 (2) แบคทเี รียในลำไสใ้ หญข่ องมนุษย์ : แบคทีเรยี ชนดิ Escherichia coli ชว่ ยยอ่ ยกาก อาหาร และสรา้ งวิตามนิ K , B ให้มนุษย์ ส่วนมนุษย์ให้ทอี่ ยอู่ าศัยและอาหารแก่แบคทีเรยี (3) แบคทเี รียในปมรากพชื ตระกูลถว่ั : แบคทีเรียชนิด Rhizobium sp. ช่วยตรงึ N ใน อากาศเป็น ไนเตรต (NO) ในดนิ ใหถ้ ่ัวใช้ประโยชนไ์ ด้ ส่วนถ่ัวให้ที่อยอู่ าศยั แก่แบคทเี รยี (4) ราในรากพืชตระกูลสน : ราชนิด Mycorrhiza sp. ช่วยทำให้ฟอสฟอรัสในดินอย่ใู น รปู ทสี่ นนำไปใช้ประโยชน์ได้ และสนให้ทอ่ี ยอู่ าศยั และอาหารแก่รา (5) สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำในแหนแดง : สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินชนิด Anabaena sp. และ Nostoc sp. ช่วยตรึง N ในอากาศเป็น NO ให้แหนแดงนำไปใชป้ ระโยชน์ได้ ส่วนแหน แดงใหท้ อ่ี ยู่อาศยั แกส่ าหร่าย 3. ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเก้ือกูล (Commensalism: + , 0) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของ สิ่งมีชีวติ 2 ชนิด โดยฝ่ายหน่ึงไดป้ ระโยชน์ อกี ฝ่ายหน่งึ ไม่ไดแ้ ละไม่เสยี ประโยชน์ เชน่ (1) ฉลามกับเหาฉลาม : เหาฉลามเกาะติดกับฉลาม ได้เศษอาหารจากฉลาม โดยฉลามก็ ไมไ่ ดแ้ ละไม่เสยี ประโยชนอ์ ะไร ดังภาพที่ 1.7 ภาพท่ี 1.7 ฉลามกับเหาฉลาม ท่ีมา : https://knpproject255560101.wordpress.com (2) พืชอิงอาศัย (Epiphyte) บนต้นไม้ใหญ่ : พืชอิงอาศัย เช่น ชายผ้าสีดาหรือ กล้วยไม้เกาะอยู่บนต้นไม้ใหญ่ ได้รับความชุ่มชื้น ท่ีอยู่อาศัยและแสงสว่างที่เหมาะสม โดยต้นไม้ใหญ่ไม่ได้ และไมเ่ สียประโยชน์ใด ๆ (3) นก ต่อ แตน ผ้ึง ทำรังบนต้นไม้ : สัตว์เหล่าน้ีได้ท่ีอยู่อาศัย หลบภัยจากศัตรู ธรรมชาติ โดยตน้ ไม้ไม่ได้และไมเ่ สียประโยชนอ์ ะไร

1-25 4. ภาวะปรสิต (Parasitism: + , -) หมายถึง การอยู่รว่ มกันของส่งิ มีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหน่ึง ได้ประโยชน์ เรียกวา่ ปรสิต (parasite) อกี ฝา่ ยหนึง่ เสียประโยชน์ เรยี กว่า ผู้ถกู อาศัย (host) เชน่ (1) เห็บ เหา ไร หมัด บนร่างกายสัตว์ : ปรสิตภายนอก (Ectoparasite) เหล่านี้ดูดเลือด จากร่างกายสตั ว์จงึ เป็นฝ่ายได้ประโยชน์ สว่ นสัตว์เป็นฝ่ายเสียประโยชน์ ภาพที่ 1.8 ภาพท่ี 1.8 เหา ที่มา : http://www.eduktc.com/main.php?inc=chap&chid=149 (2) พยาธิ ในร่างกายสัตว์ :ปรสิตภายใน (Endoparasite) จะดูดสารอาหารจาก รา่ งกายสตั ว์ จงึ เปน็ ฝ่ายได้ประโยชน์ ส่วนสตั วเ์ ปน็ ฝา่ ยเสียประโยชน์ (3) พืชเบียน (Parasitic Plant) บนต้นไม้ : พืชเบียน เช่น พวกกาฝากชนิดต่าง ๆ เกาะและดูดนำ้ เล้ียงจากตน้ ไมจ้ งึ เป็นฝา่ ยได้ประโยชน์ ส่วนตน้ ไม้เสียประโยชน์ ดังภาพที่ 1.9

1-26 ภาพที่ 1.9 กาฝากบนต้นไมใ้ หญ่ ทีม่ า : http://katnattaphat.blogspot.com/2014/07/parasitism.html 5. ภาวะล่าเหย่ือ (Predation: + , -) หมายถึง การอยู่รว่ มกนั ของส่ิงมีชีวิตโดยฝา่ ยหนึ่งจับอีก ฝ่ายหนึ่งเป็นอาหาร เรียกว่า ผู้ล่า (predator) ส่วนฝ่ายท่ีถูกจับเปน็ อาหารหรือถูกล่า เรียกว่า เหยือ่ (Prey) เชน่ นกกินปลา ดงั ภาพที่ 1.10 ภาพท่ี 1.10 นกกนิ ปลา ท่มี า : https://kruwichuta.wordpress.com/ 6. ภาวะแขง่ ขัน (Competition: - ,-) หมายถึง การอยูร่ ่วมกันของสงิ่ มีชีวิตท่ีมีการแย่งปัจจัย ในการดำรงชีพเหมือนกันจึงทำให้เสียประโยชน์ท้ังสองฝ่าย เช่น สิงโต สุนัขป่า แย่งชิงกันครอบครองท่ีอยู่ อาศัยหรืออาหารพืชหลายชนิดที่เจริญอย่ใู นบริเวณเดียวกนั เปน็ ตน้ ดังภาพท่ี 1.11

1-27 ภาพท่ี 1.11 ภาวะแข่งขนั ท่ีมา : http://www.thaigoodview.com/node/87769 1.6.4 การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ(กฤษณ์ มงคลปัญญา และคณะ, 2540) แหล่งพลังงานทห่ี มนุ เวียนในระบบนเิ วศได้จากดวงอาทิตย์พลังงานจากดวงอาทิตยท์ ี่สง่ มายัง โลก ประมาณ 30% จะสะท้อนกลับไปยังบรรยากาศ และอีก 70% จะส่งมายังโลกท่ีใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ โดย 47% ใช้ในการให้ความร้อนแก่พื้นโลกและอากาศโดยรอบ อีก 23% ช่วยให้เกิดวัฏจักรของน้ำ และ เพียง 1% ท่ีพืชใช้ในการสังเคราะห์แสง และถ่ายทอดพลังงานไปตามห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) หรือ สายใยอาหาร (Food Web) ดงั ภาพที่ 1.12 ภาพที่ 1.12 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ ทมี่ า : https://www.google.co.th/url?\\ 1. ห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) เป็นการเคล่ือนย้ายพลังงาน และธาตุอาหาร ในระบบ นิเวศ ผ่านผู้ผลิต ผู้บริโภคในระดับต่าง ๆ โดยการกินกันเป็นทอด ๆ ในลักษณะเป็นเส้นตรงหลักการเขียน

1-28 ห่วงโซ่อาหารมักนิยมให้เหยื่ออยู่ทางซ้ายมือ ผู้ล่าอยู่ทางขวามือ และหัวลูกศรช้ีไปทางผู้ล่า การจำแนก รปู แบบของหว่ งโซอ่ าหารโดยใชเ้ กณฑ์ตามลักษณะการหาอาหารแบง่ ได้ดังน้ี (1) ห่วงโซ่อาหารแบบผู้ล่าหรือแบบจับกิน (Predator Chain or Grazing food Chain) เร่มิ จากผู้ผลติ คอื พืชตามด้วยผู้บริโภคอันดบั ตา่ ง ๆ เช่น ขา้ วโพด แมลง นก สนุ ขั (2) หว่ งโซ่อาหารแบบปรสติ (Parasitic Chain) เรมิ่ จากผู้ถูกอาศยั (Host) ถ่ายทอดพลงั งานไปยังปรสติ (Parasite) และตอ่ ไปยงั ปรสิตอันดับสูงกว่า เชน่ เหย่ยี ว ไร แบคทีเรยี (3) ห่วงโซ่อาหารแบบเศษอนิ ทรยี ์ (Detritus Chain) เรมิ่ จากซากพชื หรือซาก สตั ว์ (Detritus) ถา่ ยทอดพลังงานไปยังผูบ้ ริโภคซากพชื ซากสัตวเ์ ช่น ขยะ แบคทีเรยี แมลง นก การถ่ายทอดพลังงานจากชีวิตหน่ึงไปสู่อีกส่ิงมีชีวิตหน่ึงเป็นไปตามกฎของการส่งถ่าย พลังงานหรือตามกฎสิบเปอร์เซ็นต์ท่ีกล่าวว่า “พลังงานย่อมสูญหายไปให้กับสิ่งแวดล้อมในขณะที่มี การสง่ ถ่าย (Transfer) ในแต่ละระดับ” กลา่ วคือการส่งถ่ายพลงั งานในห่วงโซ่อาหารนี้จะมีเพียง 10% ของพลังงานท่ีมีอยู่ส่วนอีก 90% จะสูญเสียไปในระบบนิเวศ พลังงานท่ีสูญเสียไปคือ พลังงาน ท่ีส่ิงมีชีวิตใช้ในการหายใจ หรือเผาผลาญอาหารในร่างกาย พลังงานท่ีอยู่ในรูปสารอินทรีย์ หรือ พลังงานเคมีจะถูกเปล่ียนไปเป็นพลังงานความร้อน ซึ่งพลังงานความร้อนน้ีจะถูกระบายออกจาก ระบบนิเวศ นอกจากนี้พลังงานท่ีอยู่ในสารอินทรีย์ (เนื้อเย่ือ) ที่เน่าสลายไปก่อนที่สัตว์จะกินเนื้อเยื่อ บางสว่ นท่สี ตั วก์ นิ ไมไ่ ด้ และเนือ้ เย่อื ท่สี ตั ว์กินเข้าไปแล้วใชไ้ ม่หมดและส่วนทข่ี บั ถ่ายออกมา ปกติการถ่ายทอดสารอาหารและพลังงานในระบบจะเป็นไปตามกฎสิบเปอร์เซ็นต์ แต่จาก การศึกษาพบวา่ สารเคมีหรือสารพษิ ต่าง ๆ เช่น สารฆา่ แมลง DDT ซึ่งสารเคมีชนดิ น้ีจะสลายตัวยาก มคี วาม คงตัวสูง ทำลายระบบประสาทแมลงได้ดี เนื่องจากมีโลหะหนักท่ีเป็นพิษเจือปนอยู่ เช่น ปรอท ตะกั่ว และ อาร์เซนิก ซ่ึงเกษตรกรใช้กันอย่างแพร่หลาย สามารถถ่ายทอดไปตามห่วงโซ่อาหาร แต่การถ่ายทอดสารพิษ ในระบบนิเวศไม่เป็นไปตามของการส่งถ่ายพลังงาน แต่ถ่ายทอดแบบทวีคูณ คือ สารพิษจะเพ่ิมมากขึ้น ตามลำดับขนั้ ของผบู้ ริโภค 2. สายใยอาหาร (Food web) เป็นการรวมกันของห่วงโซ่อาหารหลาย ๆ ชุด จนเกิดความ ซับซ้อนขึ้น เน่ืองจากสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งกินอาหารได้หลายอย่าง และยังเป็นอาหาร ให้กับสิ่งมีชีวิตอื่นอีก หลายชนิดด้วย ในธรรมชาติการถ่ายทอดอาหารไม่เป็นสายตรงเสมอไป ส่ิงมีชีวิตหน่ึงอาจกินอาหารหลาย

1-29 ชนิดหลายระดับ หรือเหย่ือชนดิ เดยี วกนั อาจจะถกู สิ่งมีชีวิตหลายชนิดกิน เช่น พืชอาจถูกแมลง นก มนุษย์ กิน ดังนั้นในสายใยอาหารแต่ละระดับจะประกอบไปด้วยห่วงโซ่อาหารที่สลับซับซ้อนอยู่มากมายไม่ได้เรียง เป็นระเบียบตามรูปแบบหว่ งโซอ่ าหาร และประกอบด้วยสิง่ มชี ีวิตต่าง ๆ ท่มี ีความสมั พันธใ์ นการส่งถ่ายธาตุ อาหารหรือพลังงานในระบบนิเวศหนึ่ง ระบบนิเวศหน่ึง ๆ จะมีสายใยอาหารไมเ่ หมือนกัน เพราะมีสิ่งมชี ีวิต ในระบบนิเวศแตกต่างกนั และสภาพแวดล้อมในธรรมชาติเปลยี่ นแปลงอยเู่ สมอ ตัวอยา่ งเช่น สายใยอาหารใน นำ้ ดังภาพที่ 1.13 ภาพท่ี 1.13 สายใยอาหารในน้ำ ท่มี า : https://www.google.co.th/url?\\ สายใยอาหารในระบบนิเวศประกอบด้วยห่วงโซ่อาหารหลายสายเช่ือมโยงกัน แสดงให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตในชุมชนระบบนิเวศใดที่มีความสลับซับซ้อนระบบนิเวศใด มีเสถียรภาพสูงมีโอกาสที่จะเสียสมดุลน้อยมีการทดแทนกันได้ ซึ่งพบในระบบนิเวศขนาดใหญ่ เช่น ระบบนเิ วศทะเล ระบบนิเวศป่าเป็นต้น 1.6.5 วัฏจักรแร่ธาตใุ นระบบนเิ วศ แร่ธาตุท่ีสิ่งมีชีวิตต้องการมีประมาณ 80 - 90 ชนิด แร่ธาตุบางชนิดส่ิงมีชีวิตต้องการใน ปริมาณมาก (Macronutrient) ได้แก่ ไฮโดรเจน คาร์บอน ออกซิเจน ไนโตรเจน แคลเซียม โปแทสเซียม แมกนีเซียม ซัลเฟอร์ ฟอสฟอรัส ส่วนแร่ธาตุที่มีความจำเป็นรองลงมาสำหรับส่ิงมีชีวิตต้องการในปริมาณ น้อย (Micronutrients) ได้แก่ ซลิ ิคอน อลมู นิ มั คลอรีน โซเดียม เหลก็ โบรอน ทองแดง แร่ธาตุต่าง ๆ จะถูกหมุนเวียนกันเป็นวัฏจักรท่ีเรียกว่า “วัฏจักรแร่ธาตุ” ซึ่งเปรียบเสมือน กลไกสำคัญ ที่เชื่อมโยงระหว่างแร่ธาตุและพลังงานจากธรรมชาติสู่สิ่งมีชีวิต แล้วถ่ายทอดพลังงานใน รูปแบบ ของการกินต่อกันเป็นทอด ๆ และท้ายสุดจะถูกย่อยสลายโดยผู้ย่อยสลายกลับคืนสู่ธรรมชาติ วัฏจักรของแร่ธาตทุ ี่สำคัญของระบบนเิ วศ ได้แก่ 1. วัฏจักรน้ำ (Hydrologic cycle)

1-30 พื้นผิวโลกของเรามีพ้ืนดินหนึ่งส่วน และเป็นน้ำอยู่ถึง 3 ใน 4 ส่วนของพ้ืนโลกทั้งหมด น้ำ ส่วนใหญ่คือ 97% ของน้ำท้ังหมดเป็นน้ำเค็มท่ีเราไม่สามารถนำมาใช้ได้โดยตรง อีก 3% เป็นน้ำจืด แต่น้ำ จืดส่วนที่เราสามารถนำมาใช้ได้คือส่วนที่อยู่ใต้ดิน แม่น้ำ ลำธาร และทะเลสาบน้ำจืด ซึ่งมีประมาณ 1 ใน 3 ของนำ้ จดื ทม่ี อี ยูท่ ง้ั หมดน่นั เอง พลังงานจากแสงอาทิตย์จะทำให้น้ำจากแหล่งต่าง ๆ เกิดการระเหยเป็นไอน้ำในอากาศ เกิดกระบวนการกลั่นตัวเป็นเมฆและตกมาเป็นฝนตามลำดับ น้ำฝนส่วนหนึ่งจะซึมสู่ดินเป็นน้ำใต้ดิน ทล่ี ะลายธาตุอาหาร และถูกน้ำเข้าสู่พืชโดยผ่านกลไกการลำเลยี งทางรากพืช และนำ้ คายออกทางปาก ใบเป็นไอน้ำในอากาศ น้ำฝนอีกส่วนหน่ึงจะไหลไปรวมอยู่ในพื้นผิวระดับต่ำเป็นแอ่งน้ำ ไหลรวมเป็น ลำธาร แม่น้ำลงสู่ทะเล และมหาสมุทร แหล่งน้ำเหล่านี้จะมีการระเหยเกิดเป็นไอน้ำใน อากาศ หมนุ เวยี นเปน็ วฏั จักรนำ้ เร่ือยไป ดงั ภาพท่ี 1.14 ภาพที่ 1.14 วัฏจักรของนำ้ ท่มี า : https://narin118.wordpress.com ในด้านปริมาณน้ำน้ันมักจะประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำโดยเฉพาะในฤดูแล้ง แต่มักจะเกิด ปัญหาน้ำท่วมในฤดฝู น ความไมส่ มดุลของปริมาณน้ำที่เกดิ ข้นึ นนั้ มีสาเหตุมาจากทง้ั ทางธรรมชาติ และผลที่เกิด จากการกระทำของมนุษย์ โดยการทำลายป่าต้นน้ำลำธาร ซึ่งทำหน้าที่ดูดซับน้ำฝน ชะลอความรุนแรงของน้ำ ท่วมในฤดูฝน และปล่อยให้น้ำไหลออกมาในฤดูแล้ง การพังทลายของหน้าดินจากพ้ืนที่ ลาดชนั อนั เกิดจากการ ทำลายปา่ ก็ทำให้แมน่ ้ำลำธารและอ่างเก็บนำ้ ต้ืนเขนิ รับน้ำไดน้ ้อยในฤดูฝน เป็นเหตุ ให้น้ำท่วมรุนแรงในฤดฝู น แต่ขาดแคลนนำ้ ในฤดูแลง้ สำหรับด้านคุณภาพน้ำพบว่า ยังมีปัญหาจากการท่ีโรงงานอุตสาหกรรมปล่อยน้ำเสียลงไป ในแม่น้ำ ลำคลอง เช่น แถบอำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นแหล่งอุตสาหกรรม มีผลทำให้ เกิดความเสียหายต่อชีวิตสัตว์น้ำในบริเวณน้ัน และกรณีแม่น้ำแม่กลองเน่าเม่ือปี 2550 เน่ืองจากโรงงาน อุตสาหกรรมน้ำตาล ผงชูรส มันสำปะหลัง ท่ีต้ังอยู่ส่องฝั่งแม่น้ำแม่กลองปล่อยน้ำเสียจากโรงงานลงสู่แม่น้ำ

1-31 แม่กลอง เกิดน้ำเน่าเสียเกือบตลอดทั้งสาย เป็นผลให้ปลาตาย และเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของ ประชาชนทอ่ี าศัยแม่นำ้ แมก่ ลองเป็นแหลง่ นำ้ ใชเ้ พ่อื การอุปโภคบรโิ ภคและเพ่ือการเกษตร 2) วฏั จกั รไนโตรเจน (Nitrogen Cycle) ไนโตรเจนเป็นธาตุสำคัญเพราะเป็นองค์ประกอบของโปรตีนในส่ิงมีชีวิต และพืชยังใช้ ไนโตรเจนในรูปของสารประกอบเกลือแอมโมเนียม เกลือไนไตรท์ และเกลือไนเตรต เพื่อนำไปสร้าง สารประกอบต่าง ๆ ภายในเซลล์ได้อีก แหล่งสะสมที่สำคัญคือ แก๊สไนโตรเจนในบรรยากาศซึ่งมี ประมาณร้อยละ 78 ของแก๊สท้ังหมดที่มีอยู่ในอากาศ ไนโตรเจนมีการหมุนเวียนเป็นวัฏจักร เรียกว่า วัฏจักรไนโตรเจน (nitrogen cycle) วัฏจักรไนโตรเจนประกอบด้วยกระบวนการท่ีสำคัญคือ การเปลี่ยนสารประกอบไนโตรเจนเป็นแอมโมเนีย (ammonification) และ การเปล่ียนเกลือ แอมโมเนียมเป็นไนไตรท์และไนเตรต (nitrification) และ การเปล่ียนไนเตรตกลับเป็นแก๊สไนโตรเจน ในบรรยากาศ (denitrification) ไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนและกรดนิวคลีอิคในส่ิงมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ใน เซลล์โดยท่ัวไปมีไนโตรเจนประมาณ 16% ของน้ำหนักแห้งและแม้ว่าในบรรยากาศจะประกอบด้วยก๊าซ ไนโตรเจนถึง 79% (N2 = 79%, O2= 21%,CO2= 0.033 %) แต่ส่ิงมีชีวิตไม่สามารถจะนำมาใช้ได้โดยตรง ไนโตรเจนสามารถเขา้ สู่วัฏจกั รไนโตรเจนของระบบนเิ วศได้ 2 ทางคือ (1) กระบวนการท่ีเกิดข้ึนในขณะที่เกิดฟ้าแลบ ฟ้าผ่า และฝนจะชะล้างไนโตรเจน กลายเปน็ แอมโมเนียมและไนเตรตไหลลงสู่ดนิ (2) การตรึงไนโตรเจนโดยอาศัยส่ิงมชี ีวิตจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรียไรโซเบียม ในปมราก พืช วงศ์ถ่ัว ดงั ภาพที่ 1.15 ภาพที่ 1.15 การหมนุ เวียนไนโตรเจนในระบบนเิ วศ ทมี่ า :http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=68762

1-32 พืชบางชนิดปรับเปลี่ยนโครงสร้างให้แตกต่างจากพืชอ่ืน ๆ เช่น พืชกินแมลงซ่ึงสามารถ เจริญเติบโตได้ในดินท่ีขาดธาตุอาหารสำคัญอย่างไนโตรเจน เช่น กาบหอยแครง หยาดน้ำค้าง และ หม้อข้าวหม้อแกงลิง ซ่ึงส่วนของใบทำหน้าท่ีเปลี่ยนไปเพื่อดักแมลงท่ีปลายใบมีกระเปาะเป็นรูปคล้ายหม้อทรง สงู ยาว และมนี ้ำหวานล่อแมลง ภายในมีเอนไซม์ เพอ่ื สลายสิง่ มีชีวติ เปน็ สารอนิ ทรีย์ สารอนนิ ทรีย์ และแรธ่ าตุ กระบวนการท่ีเกิดขึ้นในขณะที่เกิดฟ้าแลบ ฟ้าผ่า และกระบวนการตรึงก๊าซไนโตรเจนโดย จุลินทรีย์ ซึ่งเป็นกระบวนการท่ีเปลี่ยนก๊าซไนโตรเจนเป็นไนเตรท และแอมโมเนีย ซ่ึงเป็นรูปท่ีพืชสามารถ นำไปสร้างโปรตนี จากนน้ั ผู้บรโิ ภคจงึ นำโปรตีนในพืชไปใชใ้ นการดำรงชีวิต ขณะเดียวกนั สง่ิ มชี ีวิตตา่ ง ๆ กจ็ ะ ปล่อย ของเสียในรูปยูเรีย ยูริก หรือแอมโมเนียกลับคืนสู่วัฏจักร เม่ือพืชและสัตว์ตายไปจะถูกย่อยสลาย เปล่ียนเป็นแอมโมเนีย ไนเตรท และก๊าซไนโตรเจน ตามลำดบั การเผาไหม้เช้ือเพลิงทั้งจากโรงงานอุตสาหกรรม และการเผาไหม้ของเคร่ืองยนต์จะทำให้เกิด สารประกอบไนโตรเจนท่ีสำคัญ คือ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ซึ่งเป็นก๊าซสีน้ำตาลแกมแดงที่มีกลิ่นฉุน สามารถละลายนำ้ ได้ดี และจะทำปฏิกริ ยิ ากบั ละอองน้ำในบรรยากาศได้เปน็ กรดไนตรกิ (HNO3) ซึง่ จะเกดิ เป็น ฝนกรด นอกจากนี้ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ยังทำให้เกิดการระคายเคืองในปอดและภูมิต้านทาน ของร่างกายต่ำลง ถ้าร่างกายรับเอาก๊าซ NO2 ท่ีมีความเข้มข้นสูงจะทำอันตรายต่อปอดโดยตรง เช่น ทำให้ ปอดอักเสบ เน้ืองอกในปอด และทำให้หลอดลมตีบตัน และยังเป็นผลให้เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดิน หายใจ เชน่ ไขห้ วัดใหญ่ 3. วฏั จักรคาร์บอน (Carbon Cycle) คาร์บอน (C) เป็นธาตุสำคัญ ของสารประกอบในร่างกายของสิ่งมีชีวิต เช่น คาร์โบไฮเดรต ลิพิด โปรตีน ฯลฯ และยังเป็นองค์ประกอบของสารอนินทรีย์อ่ืน ๆ ที่มีอยู่ในระบบ นิเวศเช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซต์ในบรรยากาศ คาร์บอนเป็นธาตุที่มีการหมุนเวียนอยู่ในระบบนิเวศ เปน็ วฏั จกั รเช่นเดยี วกนั เรียกวา่ วัฏจกั รคารบ์ อน (carbon cycle) คาร์บอนท่ีพบในส่ิงมีชีวิต เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน กรดนิวคลีอิก เป็นต้น อีกส่วน หนึ่ง อยู่ในรูปก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในบรรยากาศ การหมุนเวียนธาตุคาร์บอนในระบบนิเวศ อาศัย กระบวนการสังเคราะห์แสงและการหายใจ โดยพืชจะเปล่ียนคาร์บอนที่อยู่ในรูปก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไป เป็นสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตด้วยกระบวนการสังเคราะห์แสง ซ่ึงสารอาหารน้ีจะถูกถ่ายทอด ไปตาม ห่วงโซ่อาหาร และเกิดเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยกระบวนการหายใจของส่ิงมีชีวิตทุกชนดิ หลังจากน้ัน พชื จะดึงเอากา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ไปใชใ้ นการสงั เคราะหแ์ สงอีกคร้ัง เกดิ การหมุนเวียน เปน็ วัฏจักรเร่ือยไป ส่วนคารบ์ อนทีเ่ หลือจะเกบ็ อย่ใู นรูปกรดคาร์บอนกิ เกลอื คาร์บอเนต นอกจากน้ี การหมุนเวียนคาร์บอนอาจเกิดจากการใช้เชื้อเพลิง เช่น ถ่านหินและน้ำมัน เมื่อ มนุษย์นำเช้ือเพลิงเหล่าน้ีมาใช้ในกระบวนการเผาไหม้ ก็จะเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์คืนสู่ระบบ ซึ่งใน ปัจจุบันคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศมีปริมาณเพ่ิมขึ้นกว่าภาวะปกติตามธรรมชาติอย่างมาก เนื่องจากการ

1-33 เผาไหม้เช้ือเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้ยวดยานพาหนะที่เพ่ิมข้ึน ล้วนส่งผลให้ปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ ในอากาศเพิ่มข้ึน ประกอบกับการลดปริมาณลงของต้นไม้และป่าไม้ ซึ่งเกินกว่าท่ี ธรรมชาติจะปรบั สภาพ ให้สมดลุ ได้ทัน จึงเกดิ ปญั หามลภาวะอากาศตามมา ดงั ภาพที่ 1.16 ภาพท่ี 1.16 การหมนุ เวียนคารบ์ อนในระบบนเิ วศ ทมี่ า : http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=68762 การย่อยสลายซากส่ิงมชี ีวิตในสภาวะท่ีไม่มีออกซิเจน เช่น การย่อยสลายตอซงั ข้าวในนาน้ำขัง และการปศุสัตว์ โดยจุลินทรีย์กลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Microorganism) จะทำให้เกิดก๊าซมีเทน (CH4) ซึ่งเป็นอีกรูปหน่ึงของคาร์บอน ปัจจุบันพบว่าก๊าซมีเทนเพิ่มขึ้น ซ่ึงก๊าซนี้เป็นอีกสาเหตุท่ีทำให้เกิด ภาวะโลกรอ้ นขนึ้ หรอื ปรากฏการณเ์ รือนกระจก (Greenhouse Effects) 4. วฏั จกั รฟอสฟอรัส (Phosphorus Cycle) ฟอสฟอรัส (P) เป็นองค์ประกอบของสารพันธุกรรมกระดูก ฟัน ไขมันในสัตว์ และไขมัน ท่ีสะสมอยู่ในรูปเมล็ดของพืช ฟอสฟอรัสเป็นธาตุท่ีจำเป็นสำหรับเซลล์ทุกชนิด เน่ืองจากเป็น ส่วนประกอบของกรดนิวคลีอิก เช่น กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (Deoxyribonucleic Acid หรือ ดีเอน็ เอ DNA) ซง่ึ เปน็ สารพันธุกรรมและเป็นส่วนประกอบของสารพลงั งานสูง เชน่ ATP (Adenosine Triphosphate) นอกจากนี้ฟอสฟอรัสยังเป็นส่วนประกอบสำคัญของกระดูกและฟันในสัตว์มีกระดูก สันหลัง ฟอสฟอรัสก็เป็นอีกธาตุหนึ่งท่ีมีการหมุนเวียนอยู่ในระบบนิเวศเป็นวัฏจักร เรียกว่า วัฏจักร ฟอสฟอรสั (Phosphorus Cycle)

1-34 วัฏจักรฟอสฟอรัสแตกต่างจากวัฏจักรอื่น ๆ เน่ืองจากฟอสฟอรัสจะไม่อยู่ ในบรรยากาศทั่วไป หรอื ไม่ได้อยู่ในสถานะก๊าซน่ันเอง ซ่ึงส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของของแข็ง การหมุนเวียนของฟอสฟอรัสเร่ิมจาก สารประกอบอนิ ทรีย์ของฟอสฟอรัสในซากพืชและสตั ว์ ถูกแบคทีเรยี ย่อยสลายกลายเป็นฟอสเฟต ซ่ึงสามารถ ละลายน้ำได้ จากนั้นพืชจะดูดไปใช้ในการเจริญเติบโต ดังภาพท่ี 1.17 แต่ถา้ สภาพแวดล้อมในน้ำหรือในดินมี ความเป็นกรดสูง จะส่งผลให้ฟอสฟอรัสกลายเป็นหินฟอสเฟต หรือหินกัวโน ทำให้ประสิทธิภาพในการดูด สารประกอบฟอสเฟตไปใช้ลดลง จนทำให้วัฏจักรหยุดชะงักได้ และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต เช่น ทำให้โครงสร้างของกระดูก และฟันของส่ิงมีชีวิตไม่แข็งแรง และอาจเป็นโรคกระดูกอ่อนได้หากได้รับธาตุ ฟอสฟอรสั น้อยเกินไป อยา่ งไรก็ตามหนิ ฟอสเฟตทตี่ กทบั ถม อยู่ในตะกอนลึกจะกลบั คนื เกดิ การหมุนเวยี นอีก ครงั้ เมอ่ื เกิดหมุนเวยี นของนำ้ ทะเลโดยปลา และนกทะเลบางชนดิ ภาพท่ี 1.17 การหมุนเวียนฟอสฟอรัสในระบบนเิ วศ ท่มี า : http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=68762 เน่ืองจากฟอสฟอรัสเป็นธาตุอาหารท่ีมีความสำคัญต่อการเติบโตของพืชมาก และมีแนวโน้ม ว่าปรมิ าณของฟอสฟอรัสในดินมกั จะไมเ่ พียงพอตอ่ ความต้องการของพืช ฟอสฟอรสั จงึ นำมาทำปยุ๋ ตวั หน่งึ ท่ี อาจจำเป็นต้องใช้ในการเพาะปลูก ส่วนระบบนิเวศแหล่งน้ำฟอสฟอรัสจากน้ำท้ิงบ้านเรือน ซ่ึงมีอยู่ใน ผงซักฟอกทำหน้าที่เป็นตัวลดความกระดา้ งของนำ้ ฟอสฟอรัสเหล่านี้เป็นปุ๋ยอยา่ งดีของพืชน้ำต่าง ๆ ซึ่งจะ ทำให้พืชน้ำเจริญงอกงามและแพร่พันธ์ุได้อย่างรวดเร็วทำให้คูคลองตื้นเขิน ก่อเกิดปัญหาทางนิเวศวิทยา ท่ีสำคัญคอื ทำให้สตั วท์ อ่ี าศยั อยใู่ นแหล่งน้ำไม่สามารถมชี ีวติ อยู่ได้เนื่องจากปรมิ าณออกซเิ จนท่นี ้อยลง

1-35 5. วัฏจกั รซัลเฟอรห์ รือวัฏจักรกำมะถัน ธาตุซัลเฟอร์ (Sulfur) หรือ กำมะถนั คอื ธาตุท่ีเป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนในพืช และสัตว์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงกรดอะมิโนที่จำเป็น เช่น เมไทโอนีน ซีสเตอีน ทริปโตเฟน ธาตุกำมะถัน จะเกี่ยวขอ้ งทั้งในกระบวนการของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวติ และหมุนเวยี นกันเป็นวัฏจักรเชน่ เดียวกัน เรียกวา่ วัฏจกั รกำมะถนั ธาตุซัลเฟอร์ (Sulfur) เป็นธาตุท่ีพบในเปลือกโลกเป็นอันดับที่ 10 ในปริมาณ 520 ppm. ดังน้ันจึงไม่พบการขาดแคลนต่อการใช้ของพืชในดินท่ัว ๆ ไป แต่อย่างไรก็ตามดินในบาง บริเวณ อาจเกิดการขาดธาตุซัลเฟอร์ได้ เนื่องจากมีการปลูกพืชชนิดเดิมอยู่ตลอดโดยไม่มีการสลับกับ พืช ชนิดอ่ืน ๆ และเนื่องจากซัลเฟอร์เป็นธาตุที่มีความสามารถในการดูดซับกับดินได้ไม่สูงนัก ดังนั้น ถ้าดินในบริเวณนั้นมีฝนตกชุกก็จะทำให้ดินบริเวณนั้นขาดแคลนธาตุซัลเฟอร์ได้ แต่ถ้าในส่วนของดิน ชั้นล่างที่มีปริมาณดินเหนียวหรือแร่อะลูมิเนียมและแร่เหล็กสูงก็จะมีส่วนช่วยในการดูดซับซัลเฟอร์ได้ ซัลเฟอร์เป็นธาตุท่ีพบในพืช สัตว์และจุลินทรีย์ ในรูปของโปรตีน เม่ือสิ่งมีชีวิตตายไปโปรตีนจากส่ิงมีชีวิต เหล่าน้ีจะถูกย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์ และให้ผลิตภัณฑ์ท่ีต่างกัน ข้ึนอยู่กับสภาวะแวดล้อมท่ีต่างกัน คือ ภายใต้สภาวะ ที่มีก๊าซออกซิเจน จุลินทรีย์จะย่อยสลายซากส่ิงมีชีวิตให้เป็นซัลเฟต (SO42-) ซ่ึงพืชและ สาหรา่ ยจะนำไปสงั เคราะหเ์ ปน็ โปรตีน ภายใต้สภาวะไม่มีก๊าซออกซิเจน จุลินทรีย์จะย่อยสลายซากส่ิงมีชีวิตเป็นก๊าซ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (Hydrogen sulfide, H2S) ซึ่งเป็นก๊าซท่ีไม่มีสีแต่มีพิษ และมีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า อาการพิษเฉียบพลันของผู้ท่ีได้รับก๊าซนี้คือ คลื่นไส้ หายใจขัดต่อเน่ืองจากการขาดออกซิเจน หมดสติ และ อาจถึงตายได้ ถ้ามีความเข้มข้นสูงหากการย่อยสลายนี้เกิดในแหล่งน้ำจะทำให้โคลนมีสีดำ และส่งผลให้ สง่ิ มีชีวิตไมส่ ามารถนำแร่ธาตุเหล่าน้ันมาใชป้ ระโยชน์ในการเจริญเติบโตได้ การหมุนเวียนซัลเฟอร์เกิดข้ึนโดยอาศัยการทับถมของซากพืชซากสัตว์นานหลายพันปี จนกลายเป็นเชื้อเพลิง เมื่อมนุษย์นำเช้ือเพลิงมาใช้ในการเผาไหม้ จะก่อให้เกิดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ปะปนในบรรยากาศ หลังจากนั้นแบคทีเรียบางชนิดจะนำก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ไปใช้ในการสังเคราะห์ อาหาร แต่ปัจจุบันพบว่าการหมุนเวียนของซัลเฟอร์ผิดปกติไป เนื่องจากก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ท่ีเกิดจาก การเผาไหม้มีจำนวนมาก และจะเกิดการรวมตัวกับไอน้ำในบรรยากาศกลายเป็นฝนกรด ทำลายทรัพย์สิน ของประชาชน ถ่านหิน น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติต่างก็มีซัลเฟอร์เป็นองค์ประกอบอยู่ด้วย เม่ือถูกเผา ไหม้ ส่วนใหญ่ของซัลเฟอรเ์ ปล่ียนเปน็ กา๊ ซซลั เฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ซ่งึ รวมกับความช้นื ในบรรยากาศ ได้กรดซัลฟุริก (H2SO4) เกิดลักษณะเป็นหมอกที่มีสภาพเป็นกรดอันตรายต่อสุขภาพ และถ้าหาก มีการเผาไหม้เชื้อเพลิงเป็นจำนวนมากทำให้เกิดปรากฏการณ์ท่ีเรียกว่าฝนกรดซ่ึงฝนกรดสามารถ ทำปฏกิ ิริยากบั ธาตุอาหารท่ีสำคัญของพืช เชน่ Calcium, Magnesium และ Potassium ทำให้พืชไม่สามารถ

1-36 นำธาตุอาหารไปใช้ได้ และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในบรรยากาศยังไปปิดปากใบพืช ทำให้ความสามารถในการ สังเคราะห์แสงลดลง สัตว์น้ำจะได้รับผลกระทบโดยตรง จากการศึกษาพบว่า จำนวนปลา Trout และ Salmon ในประเทศนอรเ์ วย์ ได้ลดจำนวนลงเป็นจำนวนมาก และในระยะยาวยังพบว่าปลาหยุดการผสมพันธุ์ อกี ด้วย นอกจากนี้สตั ว์ทีอ่ ยใู่ นลำดับข้ันท่ีสงู กวา่ ก็จะไดร้ บั ผลกระทบเช่นเดียวกัน 1.7 ความหลากหลายทางชวี ภาพ (Biodiversity) ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity หรือ Biological Diversity) หมายถึง ความ หลากหลายของส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ มาจากคำ 2 คำ คือ Biological หมายถึง ชีวภาพ และ Diversity หมายถึง ความหลากหลาย (มหาวิทยาลยั นเรศวร) ความหลากหลาย (Diversity) หมายถึง มีมากมายและแตกต่าง ทางชีวภาพ (Biological) หมายถงึ ท่ีเกย่ี วข้องกับสิ่งมีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธ์ุในระบบนิเวศอัน เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึง่ มมี ากมายและแตกต่างกนั ทั่วโลก หรือง่าย ๆ คือ การทมี่ ีชนิดพันธ์ุ (Species) สายพันธุ์ (Genetic) และระบบนเิ วศ (Ecosystem) ทแี่ ตกตา่ งหลากหลายบนโลก (สำนักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม) 1.7.1 ความสำคัญของความหลากหลายทางชวี ภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพมีอยู่ระหว่างสายพันธ์ุ ระหว่างชนิดพันธ์ุ และระหว่าง ระบบนเิ วศ ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างสายพันธ์ุ ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ ความแตกต่าง ระหว่างพันธุ์พืชและสัตว์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการเกษตร ความแตกต่างหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ทำให้ สามารถเลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว ตามที่ต้องการได้ หากไม่มีความหลากหลายของสาย พันธุ์ต่าง ๆ แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตำปูเค็มกับข้าวเจ้าก็เป็นได้ ความแตกต่างที่มีอยู่ในสาย พนั ธ์ตุ า่ ง ๆ ยังช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ์ปศุสัตว์ และสัตว์ปกี เพ่ือให้เหมาะสมตามความ ตอ้ งการของตลาดได้ เช่น ไกพ่ นั ธเ์ุ นื้อ ไก่พันธุ์ไข่ดก ววั พนั ธ์นุ ม และวัวพนั ธเุ์ นื้อ เปน็ ตน้ ความหลากหลายระหว่างชนิดพันธุ์ สามารถพบเห็นได้โดยทั่วไปถึงความแตกต่าง ระหวา่ งพืชและสตั ว์แตล่ ะชนิด ไม่ว่าจะเปน็ สัตว์ท่ีอยใู่ กล้ตัว เช่น สนุ ขั แมว จ้งิ จก ตุ๊กแก กา นกพริ าบ และนกกระจอก เป็นต้น หรือส่ิงมีชีวิตที่อยู่ในป่าเขาลำเนาไพร เช่น เสือ ช้าง กวาง กระจง เก้ง ลิง ชะนี หมี และวัวแดง เป็นต้น พื้นท่ีธรรมชาติเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของส่ิงมีชีวิตที่แตกต่างหลากหลาย แต่วา่ มนษุ ยไ์ ดน้ ำเอาส่งิ มีชีวิตมาใชป้ ระโยชนท์ างการเกษตร และอตุ สาหกรรม น้อยกว่าร้อยละ 5 ของ ส่ิงมีชีวิตท้ังหมด ในความเป็นจริงพบว่ามนุษย์ได้ใช้พืชเป็นอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชที่มีท่อ ลำเลียง (Vascular Plant) ท่ีมีอยู่ท้ังหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทั้ง ๆ ท่ีประมาณร้อยละ 25 ของ

1-37 พืชที่มีท่อลำเลียงน้ีสามารถนำมาบริโภคได้ สำหรับชนิดพันธุ์สัตว์นั้น มนุษย์ได้นำเอาสัตว์เลี้ยงมาเพ่ือ ใช้ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จากสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังทั้งหมดที่มีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP 1995) ความหลากหลายระหว่างระบบนิเวศเป็นความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งซับซ้อน สามารถเห็นได้จากความแตกต่างระหว่างระบบนิเวศประเภทต่าง ๆ เช่น ป่าดงดิบ ทุ่งหญ้า ป่าชาย เลน ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศท่ีมนุษย์สร้างข้ึน เช่น ทุ่งนา อา่ งเก็บน้ำ หรือแม้กระทั่งชุมชนเมือง ของเราเอง ในระบบนิเวศเหล่านี้ สิ่งมีชีวิตก็ต่างชนิดกัน และมี สภาพการณ์อยู่อาศัยแตกต่างกัน ความแตกตา่ งหลากหลายระหวา่ งระบบนเิ วศ ทำให้โลกมถี ่นิ ท่ีอยูอ่ าศัยเหมาะสมสำหรับ ส่ิงมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ระบบนิเวศแต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดำรงชีวิตของมนุษย์แตกต่างกัน หรืออีกนัยหนึ่งให้ “บริการทางส่ิงแวดล้อม” (Environmental Service) ต่างกันด้วย อาทิ ป่าไม้ ทำหน้าท่ีดูดซับน้ำ ไม่ให้เกิดน้ำท่วมและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทำหน้าที่เก็บตะกอน ไม่ให้ไปทับถมจนบริเวณปากอ่าวตื้นเขิน ตลอดจนป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝั่งจากกระแสลม และคล่นื ด้วย 1.7.2 ระดับของความหลากหลายทางชีวภาพ การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ สามารถแบ่งย่อยออกไดเ้ ปน็ 3 ระดับคือ 1. ความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic Diversity) หมายถึง ความหลากหลาย ทางพันธุกรรมที่สิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิตได้รับการถ่ายทอดมาจากรุ่นพ่อแม่และส่งต่อไปยังรุ่นต่อไป ลักษณะทางพันธุกรรมที่ได้รับการถ่ายทอดน้ันผ่านทางยีน (Genes) ท่ีมีอยู่ในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด ซึ่งส่งผลให้สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันอาจมีลักษณะท่ีคล้ายคลึงกันหรือแตกต่างกันไปตาม Gene ท่ีได้รับ การถ่ายทอดมา ตัวอย่างของความหลากหลายทางพันธุกรรมมีอยู่ทุกครอบครัวของสิ่งมีชีวิต พ่ีน้อง อาจมีสผี ม สีผวิ และสีของนยั น์ตาท่แี ตกต่างกนั เปน็ ต้น ความแตกต่างผันแปรทางพันธุกรรมในแต่ละหน่วยชีวิตนั้นมีสาเหตุมาจากการ เปล่ียนแปลง พันธุกรรม (Mutation) ซ่ึงอาจเกิดข้ึนในระดับ Gene หรือในระดับโครโมโซม ผสมผสานกับกลไกท่ีเรียกว่า Crossing Over ท่ีเกิดขึ้นในขณะท่ีมีการแบ่งเซลล์สืบพันธ์ุ สำหรับการ สืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศ เป็นผลทำให้ gene สลับท่ีรวมตัวกันใหม่ (Recombination) ซึ่งจะถูก ถา่ ยทอดไปสลู่ กู หลานตอ่ ๆ ไปในประชากร 2. ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ (Species Diversity) หมายถึงจำนวนชนิด และจำนวนหน่วยสิ่งมีชีวิตท่ีเป็นสมาชิก ของแต่ละชนิดที่มีอยู่ใน แหล่งท่อี ยู่อาศัยในประชากรน้ัน ๆ หรอื หมายถงึ ความหลากหลายของชนดิ สิ่งมีชีวิต (Species) ทมี่ ีอยู่ ในพื้นที่หน่ึงน่ันเอง ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เช่ือว่า ส่ิงมีชีวิตทั้งหมดท่ีวิวัฒนาการอยู่บนโลกนี้ใน

1-38 ปัจจุบันมีจำนวนชนิดอยู่ระหว่าง 2-30 ล้านชนิด โดยที่มีบันทึกอย่างเป็นทางการแล้วประมาณ 1.4 ล้านชนิด แบ่งออกเป็น 5 อาณาจกั ร ดงั นค้ี อื อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) อาณาจักรโพรตสิ ตา (Kingdom Protista) อาณาจักรพชื (Kingdom Plantae) อาณาจักรเห็ดรา (Kingdom Fungi) อาณาจักรสตั ว์ (Kingdom Animalia) 3. ความหลากหลายทางระบบนิเวศ (Ecological diversity หรือ Habitat diversity) คือความซับซ้อนของลักษณะพ้ืนที่ท่ีแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาคของโลก เมื่อประกอบกับสภาพ ภูมิอากาศ ลักษณะภูมิประเทศทำให้เกิดระบบนิเวศหรือถ่ินท่ีอยู่อาศัยของส่ิงมีชีวิตท่ีแตกต่างกัน การท่ีสามารถพบส่ิงมีชีวิตอาศัยอยู่ในแต่ละพื้นท่ีได้โดยผ่านการคัดเลือกตามธรรมชาติตาม กระบวนการววิ ฒั นาการของส่ิงมีชีวติ ความหลากหลายทางนิเวศวทิ ยา ประกอบดว้ ยความหลากหลาย 3 ประเดน็ คือ (1) ความหลากหลายของถ่ินตามธรรมชาติ (Habitat Diversity) ในแต่ละบริเวณ ที่อยู่อาศยั ของส่ิงมีชีวิตที่แตกต่างกันไป บริเวณใดทีม่ ีความหลากหลายของแหล่งท่ีอยู่อาศัย ทนี่ ่ันจะมี ชนิดของสงิ่ มชี ีวติ ที่หลากหลายไปด้วยเชน่ กัน (2) ความหลากหลายของการทดแทน (Successional Diversity) เมื่อส่ิงมีชีวิต เร่มิ พัฒนาข้นึ ในพื้นที่ที่ไม่เคยมีส่ิงมีชีวติ ข้ึนมาก่อนและพัฒนาขนึ้ เปน็ ชุมชนส่งิ มีชีวติ สมบูรณ์ (Climax Stage) เม่ือเกดิ การรบกวนหรอื การทำลายระบบนิเวศลงไป เช่น พายุ ไฟปา่ การตดั ไมท้ ำลายปา่ ฯลฯ ก็จะทำให้ระบบนิเวศเกิดการเสียหายหรือถูกทำลายแต่ธรรมชาติจะมีการทดแทนทางนิเวศ (Ecological Succession) ของสิ่งมีชีวิตใหม่ขึ้นมาแทนที่ท้ังนี้เนื่องจากปัจจัย ท่ีเอ้ือต่อ การดำรงชีวิต เช่น อาหาร น้ำ แสง ความช้ืน อุณหภูมิ ฯลฯ เปลี่ยนไป การทดแทนสังคมท่ีเกิดข้ึนมาใหม่นี้เรียกว่า การทดแทนลำดบั สอง (Secondary Succession) (3) ความหลากหลายของภูมิประเทศ/ภูมิทัศน์ (Landscape Diversity) พ้ืนผิวโลกจะประกอบด้วยภูมิประเทศและภูมิอากาศท่ีแตกต่างกัน หากแบ่งตามลักษณะภูมิอากาศ สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 4 เขตใหญ่ ๆ คือ (3.1) เขตร้อนชื้นแถบศูนย์สตู ร หรอื เขตร้อน (Tropical Zone) เป็นเขตท่ี มีความสำคัญอย่างย่ิงในเรอื่ งความหลากหลายทางชวี ภาพ เช่น ปา่ อเมซอน ประเทศบราซลิ เปน็ พ้ืนท่ี ทมี่ ีความหลากหลายของพันธพุ์ ชื และพันธสุ์ ตั ว์สงู มาก (3.2) เขตอบอุ่น (Temperate Zone) เป็นเขตที่พบความหลากหลายทาง ชีวภาพ รองลงมาจากเขตร้อน

1-39 (3.3) เขตหนาวแบบทรุนดา (Tundra Zone) เป็นบริเวณที่มีความ หลากหลายทางชีวภาพน้อยมาก (3.4) เขตหนาวขว้ั โลก (Pole) เปน็ พน้ื ทไ่ี มม่ สี ิ่งมีชวี ติ อาศัยอย่เู ลยเพราะ สภาพพ้นื ทม่ี ีแตภ่ เู ขาน้ำแข็ง

1-40 เอกสารอ้างองิ กฤษณ์ มงคลปัญญา และอมรา ทองปาน. (2540). ชวี วทิ ยา. กรุงเทพ ฯ: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ เกษม จันทร์แกว้ . (2544). วทิ ยาศาสตร์ส่ิงแวดล้อม. พมิ พค์ รั้งที่ 5. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. เกษม จันทร์แก้ว. (2545). การจัดการสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน. พิ มพ์ ครั้งท่ี 1. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. คณะกรรมการบริหารวิชาการบูรณาการ หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป. (2543). สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต. พิมพค์ รัง้ ท่ี 3. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. จุไรรัตน์ คุรุโคตร. (2563). ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม. เอกสารประกอบการสอน มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. นิวัติ เรืองพานิช. (2542). การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ลินคอร์น โปรโมชัน่ . วชิ ยั เทียนน้อย. (2542). การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ. พมิ พ์ครงั้ ท่ี 4. กรุงเทพฯ: อกั ษรวัฒนา. สนุ ทร เทศสวสั ด์ิวงศ์. (2549). ชวี ิตกบั ส่งิ แวดล้อม. บุรรี ัมย์: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ ีรมั ย.์ อำนาจ เจริญศลิ ป์. (2543). การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม. พมิ พ์ครั้งท่ี 1. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พรนิ ต้ิง เฮาส.์ http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=35255. สืบคน้ เมื่อ 25 มกราคม 2559 https://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_ordinarycourse1/wiki/2ef0e/_3_.html. สืบคน้ เม่ือ 25 มกราคม 2559 http://www.oknation.net/blog/dreamline/2009/08/24/entry-1. สบื คน้ เมอื่ 25 มกราคม 2559 https://www.google.co.th/webhp. สืบค้นเมอื่ 25 มกราคม 2559 https://www.winnews.tv/news/5721. สบื คน้ เมื่อ 28 มกราคม 2559 https://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_ordinarycourse1/wiki/2ef0e/_3_.html. สบื ค้นเมอ่ื 25 มกราคม 2559 https://knpproject255560101.wordpress.com. สบื ค้นเม่อื 28 มกราคม 2559 http://www.eduktc.com/main.php?inc=chap&chid=149. สืบคน้ เมอ่ื 28 มกราคม 2559 http://katnattaphat.blogspot.com/2014/07/parasitism.html. สืบค้นเมอ่ื 30 มกราคม 2559 https://kruwichuta.wordpress.com/. สบื ค้นเม่ือ 30 มกราคม 2559 http://www.thaigoodview.com/node/87769. สืบคน้ เมือ่ 30 มกราคม 2559 https://www.google.co.th/url?\\ . สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2559

1-41 เอกสารอ้างอิง (ต่อ) https://narin118.wordpress.com. สบื คน้ เมื่อ 31 มกราคม 2559 http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=68762. สบื คน้ เมื่อ 31 มกราคม 2559

1-42 แบบฝกึ หดั /กิจกรรมทา้ ยบท บทท่ี 1 หลกั การ แนวคิดเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อม 4 คาบ 1. จงอธิบายความหมาย ประเภท คุณสมบัติของสงิ่ แวดล้อม 2. จงอธบิ ายความหมาย ประเภท ของทรัพยากรธรรมชาติ 3. จงอธบิ ายความสำคัญทรัพยากรธรรมชาตทิ ีส่ ำคัญ ได้แก่ ป่าไม้ นำ้ ดนิ 4. จงอธบิ ายความหมาย ลักษณะทีส่ ำคญั ประเภท องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ 5. จงอธบิ ายความสัมพันธข์ องสิง่ มชี ีวิตกับสิง่ มชี วี ิตในระบบนเิ วศ 6. จงอธบิ ายการถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ 7. จงอธิบายการหมุนเวียนแร่ธาตุอาหารในระบบนิเวศ วฏั จักรน้ำ วัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรคาร์บอน วฏั จักรฟอสฟอรสั วัฏจกั รซัลเฟอรห์ รอื วฏั จักรกำมะถนั 8. จงอธิบายความสำคญั ระดับความหลากหลายทางชวี ภาพ

2-1 แผนบรหิ ารการสอน บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎเี กยี่ วกับการพัฒนา และการอนรุ ักษ์ 4 คาบ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม เน้ือหาหลักประจำบท 1. ความสมั พนั ธร์ ะหว่างมนษุ ย์กับสงิ่ แวดล้อม 2. หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร 3. การพฒั นาตามแนวพระราชดำริ วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. เพ่อื ให้นกั ศึกษาทราบ และอธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนุษย์กับสง่ิ แวดล้อมได้ 2. เพอื่ ให้นกั ศึกษาทราบ และอธบิ ายหลกั การอนุรักษ์ทรพั ยากรได้ 3. เพ่อื ให้นกั ศึกษาทราบ พระราชกรณยี กิจด้านการอนรุ ักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั รชั กาลท่ี 9 กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. บรรยาย 2. กจิ กรรมเดี่ยวและกลุ่ม 3. นำเสนองานและการอภิปราย ส่อื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. Power Point การวัดประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลจากการทำแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 2. ประเมินผลการสอบปลายภาคเรียน

2-2 บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกบั การพัฒนา และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดลอ้ ม สกุ ัญญา วงศ์ธนะบรู ณ์ บทนำ ความอย่างยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรจะเกิดข้ึนได้ต้องอาศัยความร่วมมือของมนุษย์ ด้วยกันเอง คือมนุษย์ต้องตระหนักว่า การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นการพัฒนาสังคมให้ เจริญก้าวหน้า จำเป็นต้องพัฒนาให้สมดุลท้ังทางด้านเศรษฐกิจคุณภาพชีวิต รวมท้ังการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมด้วย แนวคิดในการใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืนเป็นผลสืบ มาจากการเกิดสภาวะความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ท่ีนับวันจะทวีความ รนุ แรงและสง่ ผลกระทบตอ่ คนเราเพิ่มมากข้นึ น่นั เอง 2.1 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งมนษุ ย์และสิง่ แวดล้อมธรรมชาติ มนุษย์นอกจากจะเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมแล้ว การกระทำของมนุษย์ยังมีผลโดยตรงต่อ การเปลี่ยนแปลงส่ิงแวดล้อม ในทำนองเดียวกันสิ่งแวดล้อมท้ังหลาย ก็จะมีผลโดยตรงต่อความเปน็ อยู่ ของชีวิตมนุษย์มนุษย์เป็นส่ิงแวดล้อมที่มหัศจรรย์ประเภทหนึ่ง มนุษย์มีขีดความสามารถเหนือ สง่ิ แวดลอ้ มอ่ืน ๆ มนุษย์สามารถนำสิ่งแวดล้อมหนึ่งมาดัดแปลงให้เป็นสิ่งแวดล้อมใหม่ พฤติกรรมของ มนุษย์มีความสำคัญต่อส่ิงแวดล้อมท้ังทางตรงและทางอ้อม รวมท้ังส่งผลดีและผลเสียต่อส่ิงแวดล้อม ในขณะเดียวกันสิ่งแวดลอ้ มกม็ ีสว่ นในการกำหนดพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ พฤติกรรมของมนษุ ย์จะเปน็ ไป ตามสิ่งแวดล้อมกล่าวได้ว่ามนุษย์และสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงส่ิงใดสิ่งหนึ่งย่อมมีผลกระทบต่อสิ่งอื่น ๆ ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม การกระทำใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ย่อมมีผลตอบสนองต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ด้วยเสมอ ด้วยเหตุดังนี้ เราจึงควรศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อม เพื่อจะได้รู้จัก ใช้ส่ิงแวดล้อมให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม เพ่ือให้เราสามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ เป็นอย่างดี และเพ่อื มิให้เราทำลายส่ิงแวดล้อมทด่ี ที ง้ั โดยตง้ั ใจและไม่ตัง้ ใจ อทิ ธพิ ลของส่ิงแวดล้อมที่มตี อ่ มนุษย์ ส่ิงแวดล้อมล้วนแล้วแต่มีอิทธิพลต่อมนุษย์ทั้งส้ิน ไม่ว่าจะเป็นส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดขึ้นเอง โดยธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อมที่มนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ ซง่ึ สามารถแยกอธบิ ายใหเ้ ห็นไดช้ ัดเจนดังนี้

2-3 ส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดข้ึนเองโดยธรรมชาติ เป็นปัจจัยเบื้องต้นในการกำหนดรูปแบบวิถีการ ดำเนินชวี ิตของมนษุ ย์ ไม่ว่าในด้านการตงั้ ถนิ่ ฐาน ด้านลกั ษณะของที่อยู่อาศัย ด้านการประกอบอาชีพ เป็นต้น แต่ส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติจะสามารถกำหนดความเป็นอยู่ของมนุษย์ได้มากน้อยเพียงไร ย่อมขึ้นอยู่กับความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์เอง หากมนุษย์มีความเจริญก้าวหน้ามาก มนุษย์ย่อมตก อยู่ภายใต้อิทธิพลของส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติน้อยลง และยังสามารถดัดแปลงส่ิงแวดล้อมทาง ธรรมชาติให้เป็นประโยชน์กับตนเองไดม้ ากดว้ ย ซ่ึงเราสามารถที่จะนำวิถชี ีวติ ของกลุ่มชนท่ดี ้อยพัฒนา ในทวีปแอฟริกา เช่น เผ่าบุชเมน เผ่าปิ๊กมี มาเปรียบเทียบกับวิถีชีวิตของกลุ่มชนท่ีพัฒนาแล้วในทวีป ยุโรปหรืออเมริกาเหนือได้ กลุ่มชนท่ีด้อยความเจริญในทวีปแอฟริกาจะมีวิถีความเป็นอยู่ท่ีเรียบง่าย พ่ึงพาอาศัยธรรมชาติค่อนข้างมาก การดัดแปลงธรรมชาติยังมีน้อย ในขณะท่ีกลุ่มชนที่พัฒนาแล้วใน ทวีปยุโรปหรอื ทวีปอเมริกาเหนือ จะมีวิถีความเป็นอยู่ที่ซับซ้อน พยายามหาวิธีท่ีจะเอาชนะธรรมชาติ การดัดแปลงธรรมชาติมีมาก เราจึงเหน็ ได้ว่าการท่ีมนุษย์พยายามปรับตวั เพ่ือเอาชนะธรรมชาติ หรือ หาวิธีนำธรรมชาติมาใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ จะทำใหเ้ กิดความแตกต่างในวถิ ีการดำเนินชีวติ ของผู้คนท่ีอยู่ ในสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่แตกต่างกัน และแน่นอนว่าสิ่งแวดล้อมท่ีมนุษย์สร้างข้ึน ก็เป็นอีก ปัจจัยหนึ่งเช่นกันท่ีมีความสำคัญในการกำหนดรูปแบบวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ การที่มนุษย์มี ความเจรญิ ก้าวหน้าทางดา้ นวิชาการมากข้ึน ทำใหม้ นุษย์หาทางท่ีจะใชส้ ่ิงแวดล้อมให้เกดิ ประโยชน์ต่อ ตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ชีวิตได้รับความสะดวกสบายมากขึ้น มีความเป็นอยู่ดีข้ึน คุณภาพ ชีวิตดีขึ้น แต่ในขณะเดียวกันความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิชาการของมนุษย์ ก็ได้สร้างส่ิงที่เลวร้ายให้ เกดิ ข้ึนแก่ส่งิ แวดล้อม เชน่ กา๊ ซพษิ จากโรงงานอุตสาหกรรมที่ปลอ่ ยออกส่อู ากาศ ทำให้อากาศเป็นพิษ มีสภาพไม่เหมาะสมแก่การหายใจของส่ิงมีชีวิตทั้งหลาย น้ำเสียท่ีมีการปนเปื้อนของสารเคมีและ สารพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ ทำให้น้ำเน่าเสีย มีความเป็นพิษ สัตว์น้ำไม่ สามารถดำรงชีวิตได้ มนุษย์เองก็ไม่สามารถนำน้ำมาใช้ประโยชน์ได้ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความ เชื่อ ศาสนา กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ค่านิยม เหล่านี้ล้วนเป็นสิ่งท่ี มนุษย์สร้างข้ึน และมี ความสำคัญในการกำหนดรูปแบบวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ มนุษย์เราเม่ืออยู่ร่วมกันเป็นสังคม ย่อมต้องมีการจัดระเบียบทางสังคม เพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินชีวิต กำหนดพฤติกรรมท่ีพึง ปฏิบัติในการอยรู่ ่วมกับผู้อื่น เพ่ือให้มนษุ ยอ์ ยรู่ ่วมกนั อย่างมีความสุข มนุษย์ท่ีอยู่ในสังคมเดียวกันย่อม มีรูปแบบของการดำเนินชีวิตที่มีลักษณะเดียวกัน เช่นพูดภาษาเดียวกัน ยึดถือกฎเกณฑ์เดียวกัน นับถือศาสนาเดียวกัน ผู้ท่ีไม่ปฏิบัติตามแนวทางที่สังคมกำหนด อาจไม่ได้รับการยอมรับในสังคมนั้น อาจเกิดความขัดแย้งหรืออาจถกู ลงโทษได้ 1. อิทธิพลของส่ิงแวดล้อมธรรมชาติด้านภัยธรรมชาติ เช่น ภูเขาไฟระเบิด คล่ืนสึนามิ พายุ การเกดิ แผน่ ดนิ ไหว เปน็ ตน้

2-4 2. อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติต่อร่างกายส่ิงแวดล้อมธรรมชาติไม่ว่าจะเป็นภูมิอากาศ ความอุดมสมบูรณข์ องพชื พรรณธัญญาหารตามธรรมชาติลว้ นมีอทิ ธพิ ลต่อรูปพรรณสัณฐานของมนุษย์ เช่น ความแข็งแรง หรืออ่อนแอ อ้วนล่ำดำขาว กล่าวคือ ในแถบที่อุดมสมบูรณ์ ผู้คนก็อ้วนท้วนล่ำสัน แถบท่ี แสงอาทิตยไ์ มร่ ้อนจดั ผคู้ นมักจะมีผิวขาว หรือคอ่ นข้างขาว 3. อทิ ธิพลของสิ่งแวดลอ้ มธรรมชาติต่อจิตใจ ธรรมชาติหลอ่ หลอมจิตใจของมนษุ ย์ให้เป็นคนใจ คอเยือกเย็นสุขุม ในภูมิอากาศที่อากาศไม่ร้อนหรือเย็นเกินไป หากเย็นนักก็อาจกลายเป็นคนเฉ่ือย ไมก่ ระฉับกระเฉง หากอากาศรอ้ นนักกอ็ าจทำให้คนอืดอาด 4. อิทธิพลของส่ิงแวดล้อมธรรมชาติต่อขนาดของชุมชน ชุมชนจะมีขนาดเล็ก หรือขนาดใหญ่ ย่อมข้ึนอยู่กับธรรมชาติแวดล้อมว่าอุดมสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด กล่าวคือหากธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ เหมาะ แก่การเพาะปลูกพืชพันธ์ุเพื่อเลี้ยงชุมชน และอำนวยความสะดวกในการไปมาหาสู่กัน เช่น มีลำคลอง แม่น้ำที่ ใชเ้ ดนิ เรือตดิ ตอ่ กันได้ ชุมชนกม็ แี นวโน้มจะมขี นาดใหญ่ 5. อิทธิพลของส่ิงแวดล้อมธรรมชาติต่อลักษณะของชุมชน และการตั้งถิ่นฐาน ชุมชน ท่ีตั้งข้ึน ตามลำแม่น้ำ ยอ่ มจะมีลกั ษณะยาวรไี ปตามลำนำ้ ในขณะทีช่ ุมชนทตี่ งั้ รอบหนอง สระ ทะเลสาบ จะมลี กั ษณะ เป็นวงกลมล้อมรอบหนองหรอื สระนั้น บางชุมชนก็ต้งั กระจุกตัวรวมกันเป็นชุมชน โดยมีผืนนาหรือไร่ล้อมอยู่ โดยรอบ สำหรับการต้ังถิ่นฐานของมนุษย์น้ัน มนุษย์ก็มักจะเลือกถิ่นหรือทำเลท่ีเหมาะแก่การหาเลี้ยงชีพ เริ่มจากท่ีที่มีน้ำ มีดินอุดมสมบูรณ์ และบางทีมีทรัพยากรอย่างอ่ืน เช่น ป่าไม้ แร่ธาตุ เพ่ือว่ามนุษย์จะได้ อาศัยส่ิงแวดลอ้ มนั้นในการดำรงชพี 6. อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติต่อลักษณะบ้าน บา้ นเรือนไทย ลาว มาเลเซยี จะเป็นบ้าน ใต้ถุนสูง หลังคาสูงชัน มีช่องว่างระหว่างหลังคาและฝาให้ลมผ่านได้ เพราะอาณาเขตนี้ เป็นแถบฝนตกชุก อากาศรอ้ น หลังคาน้ันให้ฝนไหลลงพ้ืนได้งา่ ย ช่องระบายลมทำให้ผู้อยู่อาศัยไม่ร้อนจนเกินไป ในขณะที่บ้าน จนี ญ่ีปุ่น หรอื ยุโรปต้ังอยู่ในเขตหนาว ลักษณะบ้านจะต้องแข็งแรง มดิ ชิด สามารถแบกรับน้ำหนักหิมะหรือ ป้องกนั อากาศทห่ี นาวเย็นลงได้ 7. อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติต่อลักษณะการแต่งกาย ในสังคมที่มีอากาศหนาวเย็น เครื่องแต่งกายต้องหนาหรือมีหลายชิ้น ในขณะท่ีแถบร้อนจะไม่ใช้เส้ือผ้ามาก หรือใช้ก็มีลักษณะบางเบา สฉี ูดฉาด เพราะถือเป็นเคร่ืองประดับด้วย ส่ิงที่จำเป็นสำหรับเมืองร้อนคอื ร่มกันแดด หรือกันฝน แต่ร่มของ คนเมอื งหนาวไมจ่ ำเปน็ มาก เกือบจะถอื เป็นเคร่อื งประดบั 8. อิทธิพลของส่ิงแวดล้อมธรรมชาติต่อลักษณะของอาชีพย่อมข้ึนอยู่กับธรรมชาติแวดล้อม สังคมนั้น กล่าวคือ คนท่ีตั้งบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้ำลำคลอง หรือริมทะเล ก็มักจะมีอาชีพทางประมง จับปลา หรือสัตว์อื่น เช่น กุ้ง หอยและมีอาชีพหาของทะเลขาย การออกเรือจับปลา ของชาวประมงก็ต้องอาศัย ธรรมชาติ คือ ลมบกลมทะเล ส่วนคนที่อยู่บริเวณป่าก็จะหาของป่ามาใช้และขาย คนที่อยู่ในที่ราบก็จะทำนา ทำไร่ ซง่ึ กต็ ้องอาศัยฤดูกาลอีกด้วย เป็นต้น

2-5 อิทธิพลของมนุษยท์ ม่ี ีต่อส่ิงแวดล้อม การดำเนินชีวิตของมนุษย์ในส่วนต่าง ๆ ของโลกจะเข้าไปเก่ียวข้องกับสิ่งแวดล้อมอย่าง ใกล้ชิด มนุษย์จะเป็นตัวกระทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม มีการเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมหนึ่งให้ เป็นสิ่งแวดล้อมหนึ่ง เช่นการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้าง ข้ึน หรืออาจเปล่ียนแปลงส่ิงแวดล้อมที่มนุษย์สร้างข้ึนเดิมให้เป็นสิ่งแวดล้อมแบบใหม่ กล่าวได้ว่า อิทธิพลของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อมท่ีสำคัญ ก็คือการเปล่ียนแปลงสิ่งแวดล้อมหน่ึงให้เป็นอีก สิง่ แวดล้อมหนึ่งน่ันเอง ซึ่งเหตผุ ลของความพยายามที่จะเปล่ียนแปลงนั้นมีมากมายหลายสาเหตุ มีท้ัง กระทำเพ่ือสนองความต้องการของตนเอง เพ่ือให้เกิดความสะดวกสบายในการดำรงชีวิต เพ่ือการอยู่ ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข เพ่ือการแข่งขัน เพ่ือแย่งชิงความเป็นใหญ่ การเปล่ียนแปลงส่ิงแวดล้อม ทางธรรมชาติน้ัน มนุษย์ได้กระทำต่อเนื่องกันมานานนับต้ังแต่มนุษย์อุบัติขึ้นบนพ้ืนผิวโลก การ เปลี่ยนแปลงน้ันได้เพ่ิมความรุนแรงมากข้ึนตามการเพ่ิมขึ้นของจำนวนประชากรและความ เจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี รวมทั้งความต้องการของมนุษยท์ ี่ไม่มีที่ส้ินสุด ส่ิงแวดล้อมท่ีมนุษย์สร้าง ข้ึนเองกม็ ีการเปลย่ี นแปลงมาโดยตลอดอย่างไม่มีการหยุดยั้ง มนุษย์มีโครงสร้างร่างกายขั้นพื้นฐานและความต้องการมีชีวิตอยู่เช่นเดียวกับสัตวโ์ ลกทั้งหลาย แต่ใน ขณะเดียวกันนอกจากมนุษย์จะมีความซับซ้อนทางร่างกายแล้ว การเรียนรู้ของมนุษย์ ต่อสิ่งที่อยู่โดยรอบ และการสืบทอดความรู้ การประพฤติ การปฏิบัติ และการสั่งสมทางศิลปวัฒนธรรม ทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน และสังคมโดยส่วนรวม แล้วทำให้มนุษย์ค่อย ๆ ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม แต่มนุษย์ไม่ได้เพียงแต่ ต้องการเข้ากับส่ิงแวดล้อมธรรมชาติได้เท่าน้ัน แต่ต้องการที่จะเอาชนะธรรมชาติด้วยการใช้ประโยชน์จาก ธรรมชาติรูปแบบต่าง ๆ การดัดแปลงสภาพแวดล้อม ให้เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตมากขึ้น และผลจากการ พยายามเอาชนะธรรมชาติ ของมนุษย์โดยอาศัย เทคโนโลยีที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมาทำให้มีการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากข้ึน เพื่อพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคม ประกอบกับจำนวน ประชากรของโลกเพ่ิมขึ้นอยา่ งตอ่ เนือ่ ง การแกง่ แย่งครอบครองหาประโยชน์จากธรรมชาติ ส่งผลให้เกดิ ปัญหา สิ่งแวดลอ้ มตา่ ง ๆ มากมาย ทงั้ การร่อยหรอของทรัพยากรธรรมชาติ และปญั หามลพิษสงิ่ แวดลอ้ ม ลำดบั ขั้นตอนการเอาชนะธรรมชาติ 1. ยุคการล่าสัตว์และเก็บของป่ามนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ของธรรมชาติโดยการ เร่ร่อน เก็บของป่า ล่าสัตว์ และตกปลา กลุ่มชนเหล่านี้มีความเชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม ที่อยู่รอบตัว เช่น รู้ว่าอะไรกินได้หรือไม่ หาได้ท่ีไหน ในเวลาใด ซึ่งความรู้แค่น้ันก็เพียงพอ ต่อการประสบความสำเร็จในการ ดำรงชีวิตอยู่ภายใต้ธรรมชาติ การดำรงชีวิตจะอยู่เป็นกลุ่มเล็ก ๆ ไม่เกิน 50 คน ซึ่งจะทำงานร่วมกันเพ่ือ วัตถุประสงค์เดียวคือ การหาอาหารเลี้ยงปาก เลี้ยงท้อง ถ้าอาหารในบริเวณเดมิ เร่ิมหายาก ก็จะอพยพไปอยู่ ท่ีใหม่ท่ีมีพืชพันธ์ุ และทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ ในขณะเดียวกัน ก็เร่ิมมีการประดิษฐ์เคร่ืองมือหิน อย่างหยาบ ๆ เพ่ือใช้ในการล่าสัตว์ แหล่งพลังงานที่จะใช้มีอยู่ 3 แหล่งเท่าน้ันคือ แสง ไฟ และกล้ามเน้ือ

2-6 ของตน เร่ิมมีการแบ่งหน้าท่ีโดยเพศชายล่าสัตว์ ในขณะที่เพศหญิง เก็บของป่าจากธรรมชาติ ซึ่งกิจกรรมทั้ง สองมคี วามจำเปน็ ต่อการอยู่รอดเท่าเทยี มกนั 2. ยุคเกษตรกรรม ระบบการเกษตรกรรมแบบแรกท่ีสุดของมนุษย์ คือ เกษตรกรรมแบบถาง และเผาหรือการทำไร่เลื่อนลอย ซ่ึงจะมุ่งผลิตเพื่อการเล้ียงปากเลี้ยงท้อง และยังคงดำรงชีวิตอยู่ด้วยการพ่ึงพา ตนเอง แต่เมื่อประชากรโลกเพ่ิมจำนวนมากข้นึ เร่ือย ๆ จึงทำให้เกิดความกังวล ต่อความอดอยากท่จี ะเกดิ ขึ้นใน สังคมมนุษย์ เนื่องจากความสามารถในการหาอาหารตามธรรมชาติลดน้อยลง แม้มนุษย์จะพัฒนาการ เกษตรกรรม แต่การเกษตรพื้นบา้ นก็ไม่สามารถสร้างอาหารไดเ้ พยี งพอกับการขยายตวั ของจำนวนประชากรโลก จงึ จำเป็นต้องพัฒนาเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตร จึงได้มีการนำเอาเทคโนโลยีเครอื่ งจักรกลมาใช้แทนแรงงานคน และสัตว์ในกระบวนการผลิต การสร้างระบบชลประทาน การใช้ยาฆ่าแมลง การใช้ปุ๋ยเคมี การปรบั ปรงุ พนั ธพุ์ ืช และพันธ์ุสัตว์ และเน้นการปลูกพืช และเลยี้ งสัตวช์ นิดเดียว ซึ่งหมายถึงการเปล่ียนระบบการเกษตรแบบยงั ชีพ มาเป็นการผลิตเพื่อการค้า ผลที่ตามมาคือ พลังงานจากอาหาร ที่แต่ละคนได้รับต่อคนเพ่ิมสูงข้ึน จำนวน ประชากรเพ่ิมมากขึ้น การเลิกวิถีแบบเร่ร่อน ทำให้เร่ิมมีการสะสมวัตถุเพื่อการอุปโภคบริโภคเพ่ิมสูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงหรือการทำลายพื้นที่ธรรมชาติมีผลกระทบในด้านลบอย่างรุนแรงต่อความหลากหลายทาง ชีวภาพ นอกจากน้ีการจัดการระบบเกษตรกรรมท่ีไม่เหมาะสม ไม่รู้และไม่เข้าใจล้วนมผี ลกระทบต่อการสูญเสีย หน้าดินที่มีความอุดมสมบูรณ์อันเน่ืองจากการปลูกพืช ที่กว้างใหญ่ที่มุ่งเพ่ือการค้า ท่ีต้องใช้เครื่องจักรกลใน การไถพรวน ในพ้นื ท่ีดอนและลาดชนั ยิ่งทำให้การชะล้างพังทลายของดินเกดิ ขนึ้ ในอัตราสูง เกดิ ปัญหามลพษิ ใน ส่ิงแวดล้อมและอาหาร เนื่องจากการใช้สารเคมี เพ่ือควบคุมศัตรูพืชท้ังโรค และวัชพืช สารพิษเหล่านี้หลังการ ใช้แล้วจะตกค้าง และสะสมอยู่ในดินสูงขึ้น จนเกิดอันตรายตอ่ ส่ิงมีชีวิต รวมถึงมนุษย์ด้วย โดยการถกู ถา่ ยทอด ไปตามห่วงโซ่อาหารเกิดการระบาด ของแมลงศัตรูพืช เนื่องจากแมลงและเชื้อโรคต่าง ๆ สามารถปรับตัวให้ สามารถต้านทานต่อสารปราบศัตรูพืช ทำให้เกษตรกรเกิดมีภาระหนี้สินเพ่ิมมากขึ้น เนื่องจากการพัฒนาทาง เกษตรแนวใหม่ ได้นำเอาเครื่องจักร สารกำจัดศัตรูพชื และปุ๋ยเคมีมาใช้ในการเกษตร ทำให้เกษตรกรต้องลงทุน สูง เมื่อผลผลิตล้นตลาด สินค้าทางการเกษตรมีราคาต่ำลง และสินค้าถูกกีดกันจากประเทศผู้ซ้ือ เนื่องจาก ประเทศผู้ซื้อเกรงจะได้รบั อันตรายจากสารพษิ ทต่ี ิดมากบั ผลผลิตทางการเกษตร เปน็ ตน้ 3. ยุคอุตสาหกรรมความพยายามของมนุษย์ในการแปรรูปทรัพยากร หรือวัตถุดิบต่าง ๆ ให้เป็นสินค้า เพ่ือสนองความต้องการของมนุษย์ท่ีเพ่ิมข้ึนให้เพียงพอ ทำให้การผลิตเคร่ืองใช้ต่าง ๆ ท่ีผลิต ด้วยมือไม่เพียงพอล่าช้า ทำให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยี เพ่ือใช้ในการผลิตสินค้า ให้เพียงพอกับการบริโภค เป็นผลทำให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 18-19 ในยุโรป เริ่มจากประเทศอังกฤษ มีการพัฒนา เคร่ืองทุ่นแรง ท่ีใช้ในการทอผ้า การพัฒนาเคร่ืองจักรไอน้ำ เคร่ืองจักรกล ต่อมาได้มีการพัฒนาการใช้ เครื่องจกั รในอตุ สาหกรรมขึ้นแพร่หลายรวดเร็ว รวมทัง้ การพัฒนาการขนสง่ ใหส้ ะดวกรวดเร็วขนึ้ การแสวงหา ทรัพยากรธรรมชาติและวัตถุดิบ จึงมีการพัฒนาให้มีการนำวัตถุดิบ ข้ึนมาใช้ได้อย่างกว้างขวาง การพัฒนา อุตสาหกรรมจึงแพรก่ ระจายไปทั่วโลกจากประเทศอังกฤษ และประเทศในยโุ รป มโี รงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้น

2-7 มากมาย ส่วนในสหรัฐอเมริกาภายหลังการตงั้ ประเทศขนึ้ แล้ว มีการพัฒนาอุตสาหกรรมสาขาต่าง ๆ ข้ึนอยา่ ง รวดเร็ว จนเป็นประเทศผู้นำทางด้านอุตสาหกรรม ส่วนในทวีปเอเชีย ประเทศญ่ีปุ่นที่นับว่าเพ่ิงจะมีการ พัฒนาอุตสาหกรรมขึ้นภายหลังจากยุโรปและอเมริกา แต่เนื่องจากมีการพัฒนาเทคโนโลยีได้อย่างรวดเร็ว อุตสาหกรรมในญ่ีปุ่นจึงเติบโตรวดเร็วทัดเทียมกับประเทศยุโรปและสหรัฐอเมริกา ผลที่ตามมาคือการขยาย มาตราส่วนของกระบวนการผลิตจากท่ีเคยแยกกัน เฉพาะบรเิ วณ มีขนาดเล็กกลายมาเป็นการรวมศูนย์กลาง การผลิตขนาดใหญ่ การย้ายแรงงานเข้ามายังชุมชนรอบ ๆ แหล่งอุตสาหกรรมเกิดเป็นชุมชนแออั ด นอกจากน้ันยังเปล่ียนค่านิยมจากการใช้วัสดุจากธรรมชาติ มาเป็นวสั ดุสังเคราะห์ เช่น พลาสติก มอี ัตราการ ใช้พลังงานต่อหัวเพิ่มสูงข้ึน เน่ืองจากการผลิต ทางอุตสาหกรรม และการเดินทาง การขนส่ง การผลิตสินค้า และบริการ การเกษตรกรรม การผลิตไฟฟ้า ระบบทำความร้อน-เย็น มีของใช้มากมายในราคาที่พอซ้ือหาได้ ในขณะเดียวกันการพัฒนาอุตสาหกรรม ก็ให้มลภาวะ และของเสียต่าง ๆ เช่น มลพิษทางอากาศ ทางน้ำ ทางดิน และปัญหาขยะมูลฝอย จากปัญหาต่าง ๆ มากมายดังกล่าวนั้น แสดงว่ามนุษย์กับสิ่งแวดล้อมมี ความสัมพันธ์กันอย่างเห็นได้ชัด ดังน้ันมนุษย์จึงต้องศึกษาถึงปัญหา และวิธีการแก้ไขปรับปรุงตลอดเวลา ถ้าหากปัจจุบันมนุษย์ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริงแล้ว อีกไม่ช้าไม่นาน มนุษย์ก็จะไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ในโลก ที่มีแต่มลพิษต่าง ๆ นี้ได้ ในที่สุดมนุษย์ก็จะได้รับผลกระทบจาก การเกิดมลพิษนั้น และก็จะสญู พันธุ์ เหมือนสิ่งมีชีวิตอ่ืน ๆ ที่ไม่สามารถปรับตัวเองใหเ้ ขา้ กับสิ่งแวดล้อมใหม่ ได้ ดงั นน้ั ถงึ เวลาแล้วที่มนุษย์ ควรศึกษาวทิ ยาศาสตรส์ งิ่ แวดลอ้ มให้เข้าใจอยา่ งถ่องแท้ โดยใช้เหตุและผลของ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือนำความรู้ต่าง ๆ ท่ีได้มาประมวลตามหลักการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ สง่ิ แวดล้อม โดยการวางแผน วิเคราะหแ์ ละหามาตรการป้องกัน แก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งผล ให้มนุษย์มปี ัจจัยสใี่ ช้ ในชวี ิตประจำวันตลอดไป โดยไม่เกดิ ผลกระทบตอ่ ตัวเองและสง่ิ แวดลอ้ มข้างเคยี ง กล่าวโดยสรุปถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อม จะเห็นได้ว่า มนุษย์น้ันเป็นส่วน หนึ่งของส่ิงแวดล้อม และมนุษย์ไม่อาจแยกตัวเป็นอิสระจากสิ่งแวดล้อมได้ ในเมื่อมนุษย์มีความผูกพันกับ สิ่งแวดล้อมอย่างแนบแน่นเช่นน้ี มนุษย์จึงไม่อาจปฏิเสธภาระความรับผิดชอบต่อการพิทักษ์รักษา สภาพแวดลอ้ มทดี่ ีใหค้ งอย่ตู ลอดไป เพ่อื ความอยรู่ อดของตัวมนุษยเ์ อง 2.2 หลกั การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (เกษม จนั ทร์แกว้ , 2545) จากการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มต่าง ๆ ทม่ี ีอยู่ในการดำรงชวี ิตและ เป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนา ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมลดน้อยลง ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญท่ีมนุษย์ได้นำมาใช้ในการดำรงชีวิต และ แสวงหาความสะดวกสบาย ส่งผลให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม และปัญหามลพิษ ตามมา สถานการณ์สิ่งแวดล้อมในช่วงหลายปีท่ีผ่านมาเกิดการเปล่ียนแปลงไปในทางลบมากข้ึนอย่าง ชัดเจน ทำให้ในปัจจุบันประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมเป็นประเด็นท่ีถูกกล่าวถึงมากข้ึน เน่ืองจากมี

2-8 ปรากฏการณ์ท่ีเป็นความเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นกับส่ิงแวดล้อม และก่อให้เกิดผลกระทบต่อการ ดำรงชีวิตของมนุษย์ขึ้นบ่อยครั้ง ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต และทรัพย์สินจำนวนมหาศาล (โสภารัตน์ จาระสมบัติ, 2551) การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ (Conservation) คือ การจัดการของมนุษย์ใน การใช้ชีวบริเวณ (Biosphere) เพ่ือที่จะให้ได้ประโยชน์ท่ีดีท่ีสุดและย่ังยืนแก่ชนรุ่นปัจจุบัน ใน ขณะเดียวกัน เป็นการรักษาศักยภาพท่ีจะดำรงความต้องการและความจำเป็นของชนรุ่นต่อไปใน อนาคต ดังนน้ั การอนุรักษ์ คือ การสรา้ งสรรค์ การรวบรวม การสงวน การรักษาไว้ การใช้ประโยชน์ท่ี ย่ังยืน การทดแทนและการเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ทั้งนี้ การอนุรักษ์เก่ียวข้องกับ ทรัพยากรทมี่ ชี วี ิตและไม่มชี ีวติ ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม มแี นวคิดทีส่ ำคัญสรปุ ได้ดงั น้ี 1. การใช้ (Utilization) การใช้ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตมากมีของเสียและมลภาวะ เกิดขึ้นน้อยก่อให้เกิดการฟ้ืนตัวของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจนมีศักยภาพในการให้ผล ผลติ แบบย่งั ยนื อย่างต่อเนื่องตลอดไป 2. การเก็บกกั ทรพั ยากร (Storage) การเก็บกักทางอนุรักษ์ หมายถึง การเก็บทรัพยากรเอาไว้ใช้ในอนาคต และเพ่ือ เอาไว้ใช้ในการสร้างกิจกรรมอื่นให้เกิดประสิทธิภาพ ด้วยกลไกสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในระบบ ถ้ากลไก สามารถควบคุมได้ ย่อมสามารถควบคุมการเปลี่ยนแปลงให้อยู่ในช่วงที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบ เกิดปัญหาได้ แต่ถ้ากลไกน้ันไม่สามารถควบคุมได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงกลไกธรรมชาติท่ีผิดปกติ ทำให้ เกิดผลกระทบหรอื ปัญหาสิ่งแวดลอ้ มได้ จึงจำเปน็ ต้องควบคมุ ให้ได้ วิธีการเกบ็ กกั ทรัพยากร (1) ทรัพยากรน้ำ เป็นของเหลว มีสมบัติเฉพาะตัวท่ีจะเคล่ือนท่ีจากท่ีสูงลงสูท่ ี่ต่ำ ไม่มีรูปร่างท่ีแน่ชัด จึงนิยมเก็บกักโดยการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำ บ่อเก็บน้ำ เขื่อนขวางลำน้ำหรือภาชนะ ใส่น้ำอื่น ๆ น้ำจะถูกเก็บกักได้ในปริมาณมากน้อย ข้ึนอยู่กับขนาด ของอ่างหรือเขื่อน หรือภาชนะ บรรจุ ถ้าต้องการบำบัดน้ำเสีย อาจต้องใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ สารเคมี และหรือสารฆ่าเช้ือ เพื่อการ บำบัดน้ำ (2) ทรัพยากรดนิ เปน็ ทรัพยากรทแ่ี ผ่กว้างตามแนวนอน ดังนั้นการเก็บกักจงึ เป็น การแสดงอาณาเขตท่ีชัดเจน เช่น ใช้ลักษณะภูมิประเทศ ทำรั้ว ขุดร่อง เป็นต้น ซ่ึงได้แก่การเก็บกัก พนื้ ทป่ี า่ ไร่เลอื่ นลอย พ้ืนทปี่ ระวัตศิ าสตร์ เขตควบคมุ เป็นต้น (3) ทรัพยากรอาหารและยา ทรัพยากรกลุ่มนี้มีลักษณะที่เกิดการเน่าเสีย หรือ เปลี่ยนรูปไป เนื่องจากการทำลายของจลุ ินทรยี ์ จึงนิยมเก็บกักโดยการใส่เกลอื หรอื ยาฆ่าเชื้อจุลินทรยี ์

2-9 การฆ่าเช้ือแลว้ เก็บในภาชนะ (เช่น อาหารกระปอ๋ ง) ทำแห้ง ทำให้สุก เก็บในที่เยน็ (มีอุณหภูมิตำ่ กว่า 4 องศาเซลเซียส) ที่ปฏิกิริยาเชื้อจุลินทรีย์ไม่เกิดขึ้น เก็บในที่แห้ง ไม่ช้ืน อาจมีการใช้ภาชนะท่ีออก แบบอย่างดีป้องกนั การปนเปือ้ นของจลุ นิ ทรยี ์ (4) ทรพั ยากรไม้และโลหะ ไม้จะมกี ารผุเกิดข้ึน เนอ่ื งจากมคี วามช้ืน เช้ือจลุ ินทรีย์ และอุณหภูมิท่ีไม่เหมาะสม การเก็บไว้ใช้นาน ๆ โดยการอาบน้ำยา ไม้ตากให้แห้ง เผาผิวให้เป็นถ่าน สว่ นโลหะมักเกดิ การออกซเิ ดช่ัน หรือการทำปฏกิ ิรยิ าของสารเคมีท่ีเปน็ องค์ประกอบ นิยมดำเนินการ ก็คอื ฉาบสารเคมีทป่ี ้องกันสารเคมตี วั อ่ืน และเชือ้ จลุ ินทรีย์เขา้ ทำลาย (5) การแปรรูปของเสียท่ีเป็นของแข็ง ได้แก่ ขยะ สง่ิ ปฏิกลู กากสารพษิ เศษวสั ดุ อ่ืน ๆ จะดำเนินการกับสารอินทรีย์ โดยการฝังกลบและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ การเผา เพื่ อ ก ำจั ด จะได้ ขี้ เถ้ าม าใช้ ป ระโยช น์ ก าก ขอ งเสี ย ท่ี เป็ น พิ ษ จะต้ อ งท ำให้ เป็ น ก ล าง (Neutralization/stabilization) แลว้ ฉาบดว้ ยวัสดทุ ่ไี มผ่ ุสลายแลว้ ทำการฝงั กลบ ในทีป่ ลอดภยั 3. การรักษา/ซ่อมแซม (Repair) การรักษา การซ่อมแซมในส่วนของทรัพยากรท่ีมีการทำลายโดยมนุษย์ หรือโดย ธรรมชาติ อาจมีขนาดเล็กหรือใหญ่ก็ได้ มีความจำเป็นต้องรักษา ซ่อมแซมให้หายเป็นปกติ วิธีการที่ นิยมดำเนินการรักษา ซ่อมแซม ได้แก่ การเพ่ิมโครงสร้างให้ครบ ณ ท่ีขาดหายไป การใช้ยารักษา การใช้เทคโนโลยีบำบัด เช่น เคร่ืองเติมอากาศในบ่อบำบัดน้ำเสีย ปลูกป่าในพื้นท่ีต้นไม้ที่ตายไป เป็น ต้น อย่างไรก็ตาม วิธีการรักษาซ่อมแซม นอกจากจะต้องใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมแล้ว ยังต้องมี บคุ ลากรท่มี คี วามรแู้ ละความชำนาญด้วย 4. การฟืน้ ฟู (Rehabilitation) การฟ้ืนฟู แหล่งเส่ือมโทรม หรือส่ิงแวดล้อมที่เสื่อมโทรม ให้ฟน้ื คืนสภาพปกติ จะเป็นต้องใช้ ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากร ส่ิงแวดล้อมที่เสื่อมโทรมนั้น ๆ อาจใช้เพียงธรรมชาติ ให้ช่วย ฟ้ืนฟู เช่นที่โล่งหรือไร่เล่ือนลอย เพียงป้องกันไฟป่าอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำให้ป่าฟ้ืนคืนสภาพได้ หรือน้ำเสียสามารถปล่อยให้ไหลสัมผัสกับอากาศน้ำเสียอาจเป็นน้ำดีได้ บางกรณีไม่สามารถ ใช้ธรรมชาติ ช่วยฟื้นฟูได้ อาจต้องใช้เทคโนโลยีช่วย เทคโนโลยีที่เป็นธรรมชาติหรือเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างข้ึนหรือ ร่วมกนั รูปแบบของการฟื้นฟูได้แก่ การปล่อยให้ไร่เลื่อนลอยฟื้นคืนสภาพ รูปแบบเหล่าน้ีอาจ ต้องใช้เวลาด้วยกันท้ังส้ิน หรืออาจต้องใช้เวลานาน ขึ้นอยู่กับชนิดของทรัพยากร และหรือดีกรีของ ความเสื่อมโทรม รวมทั้งชนิดหรือประเภทของเทคโนโลยีน้ัน ๆ ด้วย อย่างไรก็ตาม การฟื้นฟูนั้นเป็น ส่ิงจำเป็นในการจดั การทรัพยากรแบบย่ังยนื เพราะการฟนื้ ฟูสามารถทำให้ทรัพยากรมีศักยภาพ ในการ ใหผ้ ลผลิตตำ่ หรอื ไม่ใหม้ ศี ักยภาพการผลติ เกดิ ข้ึนได้ 5. การพฒั นา (Development)

2-10 การพัฒนา หมายถึง การทำให้ผลิตผลจากทรัพยากรนั้นให้ดีกว่าปกติ โดยการใช้เทคโนโลยี ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพช่วยให้กลไกสิ่งแวดล้อมทำงานได้ดขี ึ้น ปกติแล้วทรพั ยากรแต่ละประเภทจะมีศักยภาพการผลิตตามกำลังของตนเอง อาจมีมากบ้าง น้อยบ้าง ถ้ามีการใช้เทคโนโลยีไปกระตุ้นหรือใช้แทนกลไกปกติแล้วอาจให้ผลผลิตสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม การพัฒนาทรัพยากรใด ๆ จะต้องมีการนำเทคโนโลยีมาใช้ควบคู่กับกระบวนการพัฒนาทุกขั้นตอน ซ่ึงเทคโนโลยีน้ันน่าจะต้องเป็นเทคโนโลยีที่ดีกว่าที่เคยใช้ โดยเฉพาะอย่างย่ิง เครื่องมือสมัยใหม่ ในทำนอง เดียวกัน อาจเป็นเพียงการควบคุมกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน อาจลดของเสีย และเพ่ิมประสิทธิภาพการ ผลิตได้ 6. การปอ้ งกนั (Protection) การป้องกันเป็นวิธีการที่ปกป้องคุ้มครองทรัพยากรที่เคยถูกทำลาย หรือกำลังถูก ทำลาย หรือมีแนวโน้มว่าจะถูกทำลายให้สามารถอยู่ในสภาพปกติ - สมดุลได้ ทรัพยากรใดท่ีถูกทำลายหรือกำลังถูกทำลาย จะต้องหาทางป้องกัน ซ่ึงการป้องกันน้ี อาจเป็นการป้องกันในทางกฎหมาย หรือการให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์สำหรับทรัพยากรแต่ละ ชนิดหรือแต่ละพื้นที่ทรัพยากรนั้น ๆ มิให้ถูกบุกรุกต่อไป สามารถเอื้อประโยชน์ต่อมนุษย์ตลอดไป สำหรับวิธีการป้องกันนั้น ได้แก่ การออกกฎหมาย สร้างบทเรียน วางโปรแกรมประชาสัมพันธ์ ทำรั้ว สร้างขอบเขต ติดป้ายระบุ เป็นต้น 7. การสงวน (Preservation) การสงวน หมายถึง การเก็บไว้มิใหใ้ ช้ เน่ืองจากเปน็ ทรัพยากรที่กำลังจะหมดไป หรือสูญ ส้ินไป ซึ่งการสงวนน้ีโดยท่ัวไปไม่ค่อยกำหนดเวลาของการสงวน ทำให้เป็นทรัพยากรต้องห้ามไม่ สามารถจะแตะต้องได้ อาจสัมผัสได้เพียงเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น หรือสัมผัสได้ แต่จะเปลี่ยนรูปแบบไม่ได้ เลย ตามหลักวิชาการแล้วการสงวนควรอย่างย่ิงที่ต้องกำหนดเวลาหรือกำหนดระยะเวลาเป็นช่วง ๆ เช่น พอทรัพยากรตั้งตัวหรือฟ้ืนคืนสภาพแล้ว สามารถให้นำทรัพยากรนั้น ๆ มาใช้ประโยชน์ ตัวอย่างเช่น การสงวนสัตว์ป่าชนิดหนึ่งในขณะท่ีมีน้อยเมื่อปริมาณเพ่ิมข้ึนเป็นปกติแล้ว ก็สามารถ อนญุ าตให้ใช้ได้ การสงวนนั้น อาจดำเนินการเป็นชนิดของทรัพยากรสิ่งแวดล้อม หรือดำเนินการเป็น พื้นที่ ๆ ไป เช่น สงวนต้นสัก ป่าสงวน อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทั้งนีโ้ ดยยึดหลักในการ ขาดแคลนของทรัพยากรชนดิ นั้น ๆ หรอื พ้นื ทนี่ นั้ เหมาะสมสำหรับทรัพยากรเฉพาะอย่างเทา่ นัน้ 8. การแบง่ เขต (Zoning) การแบ่งเขต เป็นวิธีการอนุรักษ์ข้ันสุดท้าย ถ้าไม่สามารถใช้วิธีการอ่ืนใดแล้ว เนื่องด้วย ปัญหาการไมม่ วี ินัยทางสงั คม หรอื กฎหมายไมร่ ัดกมุ หรืออาจใช้เป็นกลยุทธใ์ นการอนุรักษ์ พนื้ ทน่ี ั้น ๆ การแบง่ เขตจึงเป็นส่ิงท่ีสำคญั ในการที่จะสรา้ งความมนั่ ใจว่า ระบบสง่ิ แวดล้อมน้ัน ๆ มีบทบาท หน้าท่ี

2-11 ปกติได้ ดังนั้นการแบ่งเขตพื้นที่ เพื่อต้องการแบ่งปัญหาการใช้ประโยชน์ให้เอ้ือต่อการอนุรักษ์ อาจใช้ ทำการเกษตร ปลกู ป่า ป่าธรรมชาติ หรอื ทอี่ ยอู่ าศยั เปน็ ตน้ วิธีการแบ่งเขตพื้นท่ีอาจใช้ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะอากาศ สมบัติความอุดม สมบูรณ์ของดิน สมรรถนะการพังทลายของดิน ความหนาแน่นประชากร ซึ่งต่างก็มีการแบ่งเขต เฉพาะตัว อย่างไรก็ตามเมื่อแบ่งเขตพ้ืนที่แล้วจะต้องสร้างมาตรการกำกับการใช้ที่ดินน้ัน ๆ ด้วย เพอื่ ใหก้ ารใช้ที่ดินแตล่ ะเขตเป็นไปตามสมรรถนะท่ีดนิ หรือความตอ้ งการของสงั คม พื้นท่ีประเทศไทยได้แบ่งโดยการกำหนดช้ันคุณภาพลุ่มน้ำของประเทศโดยแบ่งออกเป็น 5 เขต ได้แก่ เขตต้นน้ำ (ป่าอนุรักษ์) เขตป่าไม้ เขตป่าเศรษฐกิจ (เขตป่าไม้รวมกับไม้ผล) เขตพืชไร่ และเขตท่ีนา นอกจากนี้ยังแบ่งเป็นอุทยานแห่งชาติ เขตรกั ษาพันธ์ุสัตวป์ ่า เขตวนอุทยาน เขตห้ามล่า เขตป่าสงวน ส่วนแผนการใช้ท่ีดินน้ัน มีครบบางจังหวัดเท่านั้น เพราะยังไม่แล้วเสร็จทั่วประเทศ อย่างไรก็ตาม มีการแบ่งเขตอ่ืน ๆ อีกมากมาย มหี ลกั การและวิธกี ารใกลเ้ คยี งกับทีก่ ล่าวมาแล้วท้งั สิน้ 2.3 การพฒั นาตามแนวพระราชดำริ แนวคิดและทฤษฎีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ในโครงการพัฒนาอัน เน่ืองมาจากพระราชดำรินั้น คำนึงถึงความสอดคล้องเกื้อกูลกันระหว่างการพัฒนาและการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างเคร่งครัดมาโดยตลอด ความเข้าใจถ่องแท้ถึงธรรมชาติและ สภาวะตามธรรมชาติ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติของพระองค์นั้นทำให้เกิด แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหลากหลาย ทั้งทรัพยากร นำ้ ทรพั ยากรดนิ ทรพั ยากรปา่ ไม้ และเร่อื งของการอนุรักษส์ ภาพแวดล้อมในด้านตา่ ง ๆ จุดมุ่งหมายเป้าหมายหลักในการพัฒนาของโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริทุกโครงการ คือ “คน” โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชหฤทัยท่ีมุ่งแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อน ของประชาชนโดยเฉพาะประชาชนที่อยู่ในชนบทห่างไกล ซ่ึงประสบความทุกข์ยากเดือดร้อนยากจน และด้อยโอกาสท่ีจะได้รับการพัฒนาด้านต่าง ๆ ในการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของคน นั้น มีปรัชญาหลักในการดำเนินการ คือ “พัฒนาคนให้มีความพออยู่พอกิน เพ่ือให้สามารถพึ่งตนเอง ได”้ หลักการของโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ ในการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริให้เป็นไปตามแนวพระราชดำริ และบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคม์ ีหลกั การสำคัญดงั น้ี (http://www.wrp.or.th/) 1. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเน้น อยู่เสมอว่า โครงการของพระองค์นน้ั เปน็ โครงการท่ีมงุ่ ชว่ ยเหลือแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ ที่ราษฎร กำลงั ประสบอยู่

2-12 2. การพัฒนาต้องเป็นไปตามขั้นตอน ตามลำดับความจำเป็นและประหยัดทรงเน้นการ พัฒนาที่มุ่งสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนในลักษณะการพึ่งตนเอง ทรงใช้คำว่า “ระเบิดจากข้างใน” นัน่ คอื ทำให้ชุมชน หมู่บา้ นมคี วามเข้มแขง็ กอ่ นแล้วจึงคอ่ ยออกมา สูส่ งั คมภายนอก 3. การพึ่งตนเอง เม่ือแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเพ่ือให้มีความแข็งแรง ท่ีจะมีแนวคิดในการ ดำรงชีวิตต่อไปแล้ว ข้ันต่อไปก็คือพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่สังคม ได้ตามสภาพและสามารถ “พ่งึ ตนเองได”้ ในทส่ี ุด 4. การมีส่วนร่วมของประชาชน ก่อนการดำเนินการพัฒนาจะเสด็จ พระราชดำเนินไป เยี่ยมราษฎร และสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับราษฎร เพื่อเป็นข้อมูล ก่อนตัดสินใจดำเนินการ สว่ นคนท่ีอยู่หา่ งไกลก็ถวายกีฏามาได้ 5. การส่งเสริมความรูแ้ ละเทคนิควิชาการสมัยใหมท่ ีเ่ หมาะสม โดยสรา้ งความรู้ในการทำ มาหากินทางการเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสมเพ่ือเป็น “ตัวอย่างแห่งความสำเร็จ” เพือ่ ประชาชนจะไดร้ ู้ ได้เห็นไดส้ ัมผสั และนำไปดำเนินการหรือใช้ในการประกอบอาชีพเล้ียงตัวเองโดย เป็นวิธีการหรือใช้ในการประกอบอาชีพเล้ียงตัวเองโดยเป็นวิธีการที่ประหยัดเหมาะสมและสอดคล้อง กับสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์และสังคมวิทยาในแต่ละท้องถิ่น จึงทรงพระราชทานพระราชดำริให้ จดั ตัง้ “ศูนยก์ ารศกึ ษาพัฒนาอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ” ขึ้นในภูมิภาคต่าง ๆ ท่ัวประเทศจำนวน 6 ศูนย์ 6. การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ พระองค์ทรงเห็นว่า การพัฒนาเพ่ือฟ้ืนฟู ทรพั ยากรธรรมชาติจะมีผลโดยตรงตอ่ การพัฒนาการเกษตร และเป็นรากฐาน ของการพัฒนาประเทศ ไทย ในระยะยาว โดยเป็นการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให้กลับคืนสู่สภาพเดิม และยังได้ส่งเสริมให้ ราษฎรรู้จักการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจำกัดอย่างประหยดั และเกิดประโยชน์สงู สุด ถูกต้องตามหลัก วิชาการเพือ่ ประโยชนใ์ นระยะยาว ซ่ึงเปน็ “การพัฒนาแบบยัง่ ยืน” 7. การส่งเสริมและปรับปรุงคุณภาพส่ิงแวดล้อม พระองค์ทรง มีพระราชดำริในการ แก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรม ของสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างย่ิงการกำจัด น้ำเสียใน กรุงเทพมหานคร และในเมืองหลักในตา่ งจังหวดั ด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ เชน่ การใช้น้ำดีขบั ไล่น้ำเสียการใช้ กังหันน้ำชยั พฒั นาเพอ่ื บำบัดน้ำเสีย เป็นต้น นับจากโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริโครงการแรกที่เกิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2493 จนถึงปัจจุบัน มีโครงการ ฯ กระจายอยู่ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไม่ต่ำกว่า 2,300 โครงการ จำแนกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้ การพัฒนาแหล่งน้ำและสิง่ แวดล้อม การเกษตร การส่งเสรมิ อาชีพ สวัสดิการ สาธารณสุข การคมนาคมส่ือสารและอน่ื ๆ พระราชกรณียกิจด้านการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม พระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยหู่ ัว รัชกาลท่ี 9

2-13 พ ระบ าท ส ม เด็ จ พ ระ เจ้ าอ ยู่ หั ว ท รงทุ่ ม เท พ ระราช ห ฤ ทั ย ใน ก ารอ นุ รัก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของแผ่นดินโดยการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์เพิ่มข้ึน อย่างจริงจัง ในขณะเดียวกันก็อนุรักษ์ทรัพยากรท่ีจำเป็นและเสริมสร้างทรัพยากรท่ีร่อยหรอทดแทน ข้ึน เพื่อประโยชน์ส่วนร่วมของชาติ โครงการพระราชดำริด้านการอนุรักษ์และการพัฒนา ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจำนวนมากมายจึงเกิดขึ้นตามแนวพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ม่ิงขวัญของปวงชนชาวไทยทรงประปรีชาสามารถเป็น อย่างยิ่งในการพระราชทานดำริการพัฒ นาทางด้านต่าง ๆ น้ันจะควบคู่กับการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มอยู่เสมอ คอื การจัดการใชท้ รพั ยากรให้เกิดประโยชน์ แก่ปวงพสก นิกรมากที่สุด และมีผลกระทบกระเทือนต่อส่ิงแวดล้อมน้อยท่ีสุด โดยเฉพาะการอนุรักษ์ทรัพยากร 3 ดา้ น คือการอนุรักษท์ รัพยากรน้ำ การอนุรกั ษ์ทรัพยากรดิน และการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ซึ่งแต่ละ โครงการทรงมีวิธีและแนวทางการพัฒนาแบบผสมผสานที่สอดคล้อง และเหมาะสม ต่อศักยภาพของ ทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมในแตล่ ะพ้ืนท่เี ปน็ อย่างดี 1. การอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นที่ยอมรับนับถือโดยทั่วไปว่า พระองค์คือปราชญ์ ในเรื่องน้ำของแผ่นดินอย่างแท้จริง ตลอดระยะเวลาอันยาวนานของการทรงงานหนักตรากตรำอย่าง ไม่ทรงเคยหยุดหย่อนน้ัน งานพัฒนาที่สำคัญยิ่งของพระองค์ คือ งานที่เกี่ยวข้องกับ “น้ำ” ศาสตร์ท้ัง ปวงที่เก่ียวกับน้ำไม่ว่าจะเป็นการพัฒนา และจัดหาแหล่งน้ำ การเก็บกักน้ำ การระบายการควบคุม การทำน้ำเสียให้เป็นน้ำดี ตลอดจนการแก้ปัญหาน้ำท่วมน้ันย่อมประจักษ์ชัดและพิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า พระอัจฉรยิ ภาพและพระปรีชาสามารถของพระองค์น้นั หาผ้เู สมือนได้ยากย่งิ (1) การพฒั นาแหล่งนำ้ เพื่อแกไ้ ขปัญหาการขาดแคลนน้ำ แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวกับเร่ืองน้ำของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นั้นมีอยู่ มากและหลากหลายดงั ได้กล่าวไว้แล้ว โดยนับตัง้ แต่แนวความคดิ ในโครงการเกบ็ กักน้ำ ขนาดใหญ่ของ ประเทศ เช่น โครงการพัฒนาลุ่มน้ำป่าสัก อันเกิดจากน้ำพระราชหฤทัยที่ทรงห่วงใย ถึงปัญหา วิกฤตการณ์น้ำท่ีจะเกิดข้ึนแก่ประเทศไทยในอนาคต คือ ปัญหาน้ำท่วมกับปัญหาน้ำแล้ง ซ่ึงเกิดข้ึน สลับกันอยู่ตลอดเวลาสร้างความสูญเสียอันยิ่งใหญ่แก่เกษตรและประชาชนโดยทั่วไป ซ่ึงได้ก่อสร้าง เขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิ เพ่ือเป็นแหลง่ ต้นทุนน้ำชลประทาน ในการเกษตรกรรม ในฤดแู ล้งเพื่อปอ้ งกันและ บรรเทาอุทกภัยในบริเวณลุ่มน้ำป่า และลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างในฤดูน้ำหลาก เพ่ือป้องกันน้ำเน่า เสียในเขตกรุงเทพมหานคร และเมืองใหญ่ในภาคกลาง และเพื่อผลประโยชน์ทางอ้อมนานัปการท่ีจะ บงั เกิดข้ึน พื้นที่ทางภาคใต้ของประเทศประสบปัญหาน้ำท่วม น้ำเปร้ียว น้ำเค็ม อันเป็นผล ทำให้การเกษตรกรรมไม่ได้ผลดี โดยเฉพาะอย่างย่งิ บริเวณพน้ื ที่โดยรอบเขตพรลุ ุ่มน้ำ บางนรา เป็นต้น

2-14 โดยมีหลักการสำคัญให้วางโครงการและก่อสร้างระบบแยกน้ำออกจากกัน คือสร้างระบบป้องกันน้ำ เปรี้ยวจากพรุ ที่ทำให้พื้นท่ีเกษตรกรรมเป็นกรด ระบบป้องกันน้ำเค็มบุกรุก และระบบส่งน้ำจืด ช่วยเหลือพ้ืนท่ีเกษตรกรรม และเพ่ือการอุปโภคบริโภคอันแสดงถึงพระอัจฉริยภาพในศาสตร์ของ น้ำเคม็ อย่างแทจ้ รงิ โค ร ง ก า ร พั ฒ น า แ ห ล่ ง น้ ำ ที่ พ ร ะ บ า ท ส ม เด็ จ พ ร ะ เจ้ า อ ยู่ หั ว พ ร ะ ร า ช ท า น พระราชดำริให้กับส่วนราชการต่าง ๆ นำไปพิจารณาวางโครงการและดำเนินการก่อสร้างตามแนว พระราชดำริสามารถใหป้ ระโยชน์แก่ประชาชนและประเทศชาติเป็นส่วนรวมท้งั ในระยะสั้น และระยะ ยาวในดา้ นตา่ ง ๆ โดยสรุปได้ดังน้ี (1.1) โครงการพัฒนาแหล่งนำ้ เพือ่ การเพาะปลูกและอุปโภคบริโภค พื้นที่เพาะปลูกจำนวนมากในเขตโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ เพื่อการ เพาะปลูกอันเน่ืองมาจากพระราชดำริมีน้ำอย่างอุดมสมบูรณ์สามารถทำการเพาะปลูกได้ทั้งฤดูฝน และฤดูแล้งได้ผลิตผลมากข้ึน นอกจากนั้นในพ้ืนท่ีภาคเหนือได้มีการจัดหาน้ำสนับสนุนราษฎร ชาวไทยภูเขาเผ่าต่าง ๆ ให้มีพ้ืนที่ทำกินเป็นหลักแหล่งโดยมีน้ำสำหรับทำการเพาะปลูกไมผ้ ล และพืช เมืองหนาว รวมท้ังการปลูกไร่เพื่อทดแทนการบุกรุกทำลายป่าต้นน้ำลำธารสำหรับทำไร่ เล่ือนลอย และปลูกฝิน่ สำหรบั การพัฒนาแหล่งน้ำเพ่ือการอุปโภคได้ช่วยให้ราษฎรมนี ้ำสะอาด อยา่ งพอเพยี ง (1.2) โครงการพัฒนาแหลง่ น้ำเพื่อการเก็บรักษาตน้ น้ำลำธาร โดยการสร้างฝายเก็บน้ำบริเวณต้นลำธารเป็นขั้น ๆ พร้อมระบบกระจาย นำ้ จากฝา่ ยต่าง ๆ ไปสู่พืน้ ท่ีสองฝ่งั ของลำธาร ทำใหพ้ ื้นดินสองฝ่งั ลำธารชุ่มชน้ื และปา่ ไม้ตามแนวสอง ฝั่งลำธาร เขียวชอุ่มตลอดปี ลักษณะเป็นป่าเปียกสำหรับป้องกันไฟป่าเป็นแนว ๆ กระจัดกระจายไป ท่ัวบรเิ วณต้นน้ำลำธาร (1.3) โครงการบรรเทาอุทกภยั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความห่วงใยต่อประชาชน ท่ีได้รับ ความเดือดร้อนจากปัญหาน้ำท่วมในกรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล รวมท้ังจังหวัดชุมพร จึงได้ พระราชทานพระราชดำริให้มรี ะบบการบริหารจัดการน้ำท่วมในวิธีทีต่ รสั วา่ “แก้มลิง” โดยมีหลักการ คือ เม่อื เกดิ น้ำท่วมก็ขุดคลองชกั น้ำให้ไหลมารวมกันเก็บไวใ้ นแหลง่ พักน้ำแล้ว จงึ คอ่ ยทำการระบายลง สู่ทะเลในช่วงท่ีปริมาณน้ำทะเลลดลงโดยทางประตูระบายน้ำ ขณะเดียวกัน ก็ทำการสูบน้ำออกจาก คลองที่เป็นแก้มลิงลงสู่ทะเลตลอดเวลา เพ่ือที่น้ำจากตอนบนจะได้ไหลลงมา ได้เรื่อย ๆ และเมื่อใดก็ ตามท่ีระดับน้ำทะเลข้นึ สูงกว่าระดบั นำ้ ในคลองท่ีเป็นแก้มลงิ กใ็ หป้ ิดประตูระบายนำ้ เพื่อไม่ใหน้ ำ้ ทะเล ไหลยอ้ นกลบั เข้ามาได้ (2) การแกไ้ ขปัญหาน้ำเสยี

2-15 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงห่วงใยแหล่งน้ำธรรมชาติในแต่ละภูมิภาคที่มี คุณภาพน้ำมีสภาพเส่ือมโทรม ท้ังท่ีเกิดข้ึนเองโดยธรรมชาติและเน่ืองจากการกระทำของมนุษย์ จึงทรงพระราชทานพระราชดำริแก่หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องให้ทำการศึกษาทดลองและดำเนินการแก้ไข ปัญหามลพษิ ทางนำ้ อย่างเป็นรปู ธรรมท้งั ในเขตกรงุ เทพมหานคร และตา่ งจังหวัดดงั ตวั อย่างเชน่ “น้ำดีไล่น้ำเสีย” ทรงแนะนำให้ใช้หลักการแก้ไข โดยใช้น้ำท่ีมีคุณภาพดีจาก แม่น้ำเจ้าพระยาให้ช่วยผลักดันและเจือจางน้ำเน่าเสียให้ออกจากคลองต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร วิธนี ้จี ะทำไดด้ ว้ ยการเปิด- ปิดประตูอาคารควบคุมน้ำรบั จากแม่นำ้ เจ้าพระยาในช่วงจังหวะน้ำข้ึน และ ระบายน้ำสนู่ ้ำเจ้าพระยาในระยะนำ้ ลง ผลคือนำ้ ในคลองมีโอกาสถ่ายเทหมุนเวยี นกันมากข้นึ ทำใหน้ ้ำ เน่าเสียตามคูคลองต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานครมีสภาพดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัดวิธีการง่าย ๆ เช่นนี้ คือ การนำระบบการเคลื่อนไหวของน้ำตามธรรมชาติมาจัดระเบียบแบบแผนขึ้นใหม่เป็น “การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติในเชิงอนุรักษ์ควบคู่ไปกับการพัฒนาที่เรียบง่าย” ไม่ขัดกับ หลักธรรมชาติแต่ สอดคลอ้ ง และนำไปสปู่ ระโยชน์ท่ีต้องการได้ “ไตธรรมชาติ” ของกรุงเทพมหานครเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของแนวความคิดใน เรื่องการบำบัดน้ำเสียโดยได้ทรงวางแนวพระราชดำริพระราชทานไว้ว่าเมืองใหญ่ทุกแห่งต้องมี “ปอด” คือ สวนสาธารณะ ไว้หายใจหรือฟอกอากาศในขณะเดียวกันก็ควรมีแหล่งน้ำ ไว้สำหรับกลั่นกรองส่ิงโสโครก เน่าเสียทำหน้าที่เสมือนเป็นไตธรรมชาติ ได้ทรงใช้ “บึงมักกะสัน” เป็นแหล่งน้ำท่ีรองรับน้ำเสียจากชุมชน ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตลอดจนเป็นแหล่งเก็บกักและระบายน้ำในฤดูฝนและท่ีบึงแห่งนี้เองได้ โปรดให้มีการทดลองใช้ผักตบชวาเป็นวัชพืชที่ต้องการจำกัดอยู่แล้วมาช่วยดูดซับความสกปรกปนเป้ือน รวมตลอดทั้งสารพิษต่าง ๆ จากน้ำเน่าเสียประกอบเข้ากับเคร่ืองกลบำบัดน้ำเสียแบบต่าง ๆ ท่ีได้ คิดค้นประดิษฐ์ข้ึนเอง โดยเน้นวิธีการที่เรียบง่ายประหยัดและไม่สร้างความเดือดร้อนรำคาญ ให้แก่ ประชาชนในพ้ืนที่นั้นมีพระราชกระแสในเรื่องนี้ว่า “สวนสาธารณะถือว่าเป็นปอดแต่นี่ (บึงกะสัน) เป็นเสมือนไตฟอกเลือดถ้าไตทำงานไม่ดีเราก็ตาย อยากให้เข้าใจหลักการของความคิดนี้” ปัจจุบันบึง มักกะสัน ได้ทำหน้าท่ี “ไตธรรมชาติ” อย่างมีประสิทธิภาพ มีส่วนช่วยบรรเทามลพิษทางน้ำและเป็น แหล่งศึกษาทดลองด้านการแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อมการส่งเสริมอาชีพและการนำของเสียมาใช้ให้ก่อ ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งดียิ่ง นอกจากนั้นยังมีโครงการบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการอ่ืน ๆ เช่น การเติมอากาศและ ใช้พืชชีวภาพ (บึงพระราม 9) การเติมอากาศโดยใช้กังหันน้ำชัยพัฒนาการใช้ระบบบำบัด และวัชพืช บำบัดที่โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบ้ีย จังหวัดเพชรบุรี รวมกันทั้งในการ แก้ไขปัญหานำ้ เคม็ และการกำจดั ของเสยี โดยนำมาทำเป็นปยุ๋ หมัก เป็นตน้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงสถานการณ์เก่ียวกับ “น้ำ” ซึ่งใน ปัจจุบันมีปัญหาเกิดข้ึนเป็นอันมากทรงมีความเช่ือม่ันว่าเม่ือใดที่สามารถแก้ไขหรือบรรเทา ความ

2-16 เดือดร้อนในเรื่องน้ำให้แก่ราษฎร ราษฎรมีน้ำกินน้ำใช้เพื่อการเพาะปลูก ตลอดจนไม่มีปัญหา เก่ียวกับ น้ำที่ทำความเสียหายให้แก่พืชที่เพาะปลูกเมื่อนั้นราษฎรย่อมจะมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีข้ึนกว่าเดิม ซ่ึงพระราชดำริให้หน่วยงานต่าง ๆ ดำเนินการมาโดยตลอดนั้นมีจุดมุ่งหมายสำคัญ เพ่ือการช่วยแก้ไข ปัญหาหรือบรรเทาความเดือดร้อนเกี่ยวกับน้ำจนสามารถสนองความต้องการ ขั้นพื้นฐานของราษฎรเป็น หลักเพ่ือจะได้พัฒนาคุณภาพชีวิตจากสภาพยากจนแร้นแค้น ให้อยู่ในฐานะ “พอมีพอกิน” หรือถึงขั้น “มีกินมีใช้” ต่อไปได้ ได้แก่ การจัดการหาน้ำช่วยเหลือพื้นท่ีเพาะปลูก ในท้องที่ขาดแคลนน้ำให้มีน้ำใช้ เพาะปลกู และใชอ้ ปุ โภคบรโิ ภคการป้องกนั และบรรเทาน้ำทว่ ม และการแก้ไขปัญหาบำบัดน้ำเสีย เป็นตน้ 2. การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรดิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้อง กับการ อนุรักษ์และปรับปรุงบำรุงดินเพื่อการเกษตรกรรมไว้หลายประการในเร่ืองเก่ียวกับการอนุรักษ์ และ ปรับปรุงดินนั้นได้พระราชทานแนวคิดว่า “การปรับปรุงพัฒนาที่ดินท่ีสำคัญคือต้องอนุรักษ์ผิวดิน ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์ ไว้ให้ได้ไม่ลอกหน้าดินทิ้งไป ต้องสงวนไม้ยืนต้นที่ยังเหลืออยู่เพ่ือรักษาความ ชมุ่ ชนื้ ของผืนดนิ ไว้”แนวคิดและทฤษฎีท่สี มควรยกมาเปน็ ตวั อย่างมดี งั น้ี (1) การจดั และพฒั นาทีด่ นิ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเร่ิมงานพัฒนาประเทศของพระองค์ ด้วยงาน การจัดและพัฒนาท่ีดินเป็นงานแรก ๆ ท่ีพระองค์ทรงให้ความ สำคัญ ด้วยทรงเห็นว่าท่ีดิน เป็นปัจจัยพืน้ ฐานท่สี ำคัญมากเช่นเดียวกับเร่อื งน้ำจึงได้เร่มิ โครงการจัดพัฒนาทดี่ ินหบุ กะพง ตามพระ ราชประสงค์ เม่ือปี พ.ศ. 2511 โดยมีจุดมุ่งหมายของการดำเนินงานระยะนั้น คือการมุ่งให้แก้ปัญหา การไม่มที ท่ี ำกินของเกษตรกร เปน็ ตน้ พระองค์ทรงเลอื กพ้ืนที่ป่าเสือ่ มโทรม ทง้ิ รา้ ง ว่างเปล่า นำมาจัดสรรให้แกร่ าษฎร โดยใหส้ ิทธ์ิทำกินช่ัวลูกช่ัวหลาน แตไ่ มใ่ หก้ รรมสทิ ธิ์ในการถอื ครอง การจัดพื้นท่ีดังกล่าวนั้น มหี ลกั การ ว่าต้องวางแผนการจัดให้ดีเสียตั้งแต่ต้นโดยใช้แผนท่ี และภาพถ่ายทางอากาศช่วยด้วย ไม่ควรทำ แผนผังที่ทำกินเป็นลักษณะตารางสี่เหล่ียมเสมอไปโดยไม่คำนึงถึงสภาพภูมิประเทศ แต่ควรจัดสรรท่ี ทำกนิ ตามแนวพ้นื ทร่ี ับน้ำจากโครงการชลประทาน (2) การพฒั นาอนุรักษด์ ิน หลังจากจัดพื้นท่ีทำกินแล้วในระยะแรกน้ัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงขยายขอบเขตงานพัฒนาที่ดินด้านอื่น ๆ ออกไป โดยเริ่มงานทางด้านวิชาการ มากขึ้นอีก เช่นการวิเคราะห์และการวางแผนการใช้ที่ดินเพ่ือให้มีการใช้ประโยชน์ท่ีดินอย่างเต็มขีด ความสามารถและให้เหมาะสมกับลักษณะสภาพดินทรงแนะให้เกษตรกรทดลองใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่ออนุรักษ์บำรุงรักษาดิน วิธีการส่วนใหญ่ เป็นวิธีการตามธรรมชาติที่พยายามสร้างความสมดุลของ สภาพแวดลอ้ มให้เกดิ ขึน้ เช่น ให้มีการปลกู ไม้ใช้สอยรวมกับการปลกู พชื ไร่ซึ่งช่วยให้พืชไร่อาศยั ร่มเงา

2-17 ของไม้ใช้สอยและได้รับความชุ่มช้ืนจากดินมากกว่าท่ีจะปลูกอยู่กลางแจ้ง หรือการปลูกพืชบางชนิด ในพ้นื ที่ซง่ึ ดนิ ไมด่ ี แต่พืชดังกล่าวให้ประโยชน์ ในการบำรุงดิน ให้ดีขึ้นโดยไม่ตอ้ งลงทุนใช้ปยุ๋ เคมี พืน้ ท่ี บางแหง่ ซ่งึ ไม่เหมาะสมเลยสำหรับทำการเกษตรก็เหน็ ควรจะใช้ประโยชนใ์ นทางอนื่ เชน่ ฟ้ืนฟู มาเป็น ทุ่งหญ้าเล้ียงสัตว์ เป็นต้น ในระยะต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้า ได้ทรงสนพระทัย งานพัฒนาที่ดินที่มี สภาพธรรมชาติ และปัญหาท่ีแตกต่างกันออกไปแต่ละภูมิภาคจึงมีพระราชดำริเก่ียวกับงานแก้ไข ปัญหาท่ีดินท่ีเน้นเฉพาะเรื่องมากข้ึน เชน่ งานทดลองวิจัยเพื่อแกไ้ ขปญั หาดินเคม็ ดินดินเปรี้ยว ในภาค กลาง และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ปญั หาดินพรุในภาคใต้ และท่ีดินชายฝั่งทะเลรวมท้ังงานเก่ียวกับ การแก้ไขปัญหาปรับปรุงและบำรุงรักษาดินที่เสื่อมโทรมพังทลายจากการชะล้าง ที่เกิดขึ้นโดยท่ัวไป อีกด้วยโครงการต่าง ๆ ในระยะหลังจึงเป็นการรวบรวมความรู้ท้ังทางทฤษฎี และปฏิบัติ และนำเอา การพัฒนาที่ดินในศูนย์ศึกษาการพัฒนาหลายแห่ง เช่น แบบจำลองการพัฒนาพ้ืนที่ที่มีสภาพขาด ความสมบูรณ์และมีปัญหาการชะล้างพังทลายของดินในศูนย์ศึกษา การพัฒนาเขาหินซ้อนจังหวัด ฉะเชงิ เทรา งานศึกษาวิจัยและพัฒนาที่ดินพรุในศูนย์ศึกษาการพฒั นาพิกุลทอง จงั หวัดนราธิวาส และ งานพัฒนาท่ีดนิ ชายทะเลในศนู ย์การศกึ ษาการพัฒนาอ่าวคงุ้ กระเบน จงั หวดั จนั ทบรุ ี เปน็ ตน้ (3) การแกลง้ ดิน เพื่อแก้ไขปัญหาดินเปร้ียวเน่ืองจากสภาพพื้นที่ดินทางภาคใต้มีสภาพ เป็นดิน เปรย้ี วจัด ทำการเพาะปลกู ไม่ได้ เพราะมีกรดกำมะถนั อันเป็นสาเหตุของดินเปรี้ยว วธิ ีการแก้ไขคอื ใช้ กรรมวิธีการ “แกล้งดินให้เปรี้ยว” ด้วยการทำให้ดินแห้งและเปียกสลับกัน เพ่ือเร่งปฏิกิริยาทางเคมี ของดินให้มีกรดจัดมากข้ึนจนถึงท่ีสุด จากนั้นจึงมีการปรับปรุงดินเปรี้ยว โดยวิธีการต่าง ๆ เช่น ควบคุมระบบน้ำใต้ดินเพื่อป้องกันการเกิดกรดกำมะถัน การใช้วัสดุปูนผสมประมาณ 1 - 4 ตันต่อไร่ การใช้น้ำชะล้างจนถึงการเลือกใช้พืชท่ีจะเพาะปลูกในบริเวณน้ัน การแกล้งดินสามารถทำให้บริเวณ พื้นท่ีดินที่เปล่าประโยชน์ และไม่สามารถทำอะไรได้ กลับฟื้นคืนสภาพที่สามารถทำการเพาะปลูกได้ อกี ครัง้ หนง่ึ ด้วยวิธกี ารอันเกดิ จากพระปรชี าสามารถโดยแท้ (4) การใชห้ ญา้ แฝก เป็นอีกวิธีการหนึ่งท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคิดค้นวิธีการใช้ และ ดัดแปลงจากวิธีการสมัยเก่าที่ใช้กันมาแต่ครั้งโบราณเพ่ือการอนุรักษ์และปรับปรุงดิน โดย พระราชทานแนวคิดและทฤษฎีการใช้หญ้าแฝกให้มีประสิทธิภาพสูงสุดตามลักษณะและสภาพ ภูมิประเทศท่ีแตกต่างกัน เช่น การปลูกหญ้าแฝกเป็นแถวตามแนวระดับขวาง ตามความลาดของเขา การปลกู หญ้าแฝกเพ่ือแกป้ ัญหาการพังทลายของดินท่ีเป็นร่องนำ้ ลึก การปลกู ในพน้ื ทล่ี าดชัน และการ ปลูกเพื่อการอนุรักษ์ความชุ่มชื้นในดิน ซึ่งผลสำเร็จจากการนี้ส่วนหน่ึงเป็นท่ียอมรับนับถือจากนานา ประเทศจนกระทั่งสมาคมด้านการป้องกันพังทลายของดินระหว่างประเทศได้ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล

2-18 อันทรงเกียรติแก่พระองค์ในฐานะท่ีทรงเป็นนักอนุรักษด์ ิน และสภาพแวดล้อมท่ีมีผลงานยอดเย่ียมจน ประเทศไทยกลายเป็นศูนย์กลางของการใช้เทคนิค และวิชาการหญ้าแฝกที่ประสบผลสำเร็จและมี ความกา้ วหนา้ มากทส่ี ุดในโลกปัจจบุ นั น้ีด้วย จากแนวพระราชดำริดังกล่าวจึงได้มีการดำเนินงานในหลาย ๆ พ้ืนที่ ซึ่งกระจาย อยู่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริน้ันแทบทุกโครงการ มักจะมีเร่ืองการ พัฒนาจัดสรรปรับปรุงบำรุงดินและการให้ประโยชน์ที่ดินให้เหมาะสม แทรกอยู่ด้วยเสมอเป็นผลให้ เกษตรกรทั่วไปมีความรู้ความสามารถในด้านการพัฒนาปรับปรุงบำรุงดินและอนุรักษ์ดินและน้ำ จน ทำให้พ้ืนท่ีในหลาย ๆ แห่งเกิดความชุ่มช้ืนและอุดมสมบูรณ์สามารถทำการเพาะปลูกท่ีให้ผลผลิตสูง อันหมายถงึ รายได้และระดบั ความเป็นอยู่ของประชาชนเหลา่ น้ันดีขน้ึ ด้วย 3. การอนรุ กั ษท์ รัพยากรป่าไม้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้คำนึงถึงความสอดคล้องเกื้อกูลระหว่างการพัฒนาและ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัดมาโดยตลอด ความเข้าใจถ่องแท้ ถงึ ธรรมชาติและสภาวะตามธรรมชาติตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติของพระองค์ น้นั ทำให้เกิดแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งการอนุรักษ์ทรัพยากร ปา่ ไม้ ซึ่งพอจะสรุปใหเ้ ห็นเป็นสงั เขป ดังนี้ (1) ป่า 3 อยา่ ง เพือ่ ประโยชน์ 4 อย่าง ป่าไม้ 3 อย่างเป็นแนวคิดของการผสมผสานความต้องการในการอนุรักษ์และ ฟ้ืนฟูทรัพยากรป่าไม้ควบคู่ไปกับความต้องการด้านเศรษฐกิจและสังคม กล่าวคือเพ่ือป้องกัน มิให้ เกษตรกรเข้าบุกรุกทำลายป่าไม้เพ่ือนำมาใช้ประโยชน์ จึงควรให้ดำเนินการปลูกป่า 3 อย่าง เพื่อประโยชน์ 4 อย่าง คือ ป่าสำหรับไม้ใช้สอยป่าสำหรับไม้ผล และป่าสำหรับเป็นเช้ือเพลิงป่า หรือ สวนป่าเหล่าน้ีนอกจากเป็นการเกื้อกูลและอำนวยประโยชน์ใน 3 อย่างน้ันแล้วป่าไม้ไม่ว่าจะเป็นชนิด ใดก็จะอำนวยประโยชน์ในการอนุรักษ์ดินและน้ำ และคงความชุ่มชื้นเอาไว้อันเป็นการอำนวย ประโยชนอ์ ยา่ งท่ี 4 ซง่ึ เปน็ ผลพลอยไดอ้ ีกดว้ ย (2) ปลกู ปา่ โดยไม่ต้องปลูก เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งท่ีสะท้อนให้เห็นความเข้าพระทัยอย่างลึกซ้ึงถึง วิถีแห่ง ธรรมชาติ โดยท่ีได้พระราชทานแนวคิดว่าบางคร้ังป่าไม้ก็เจริญเติบโตข้ึนเองตามธรรมชาติ ขอเพียง อยา่ เข้าไปรบกวนและทำลายโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์หากปล่อยไว้ตามสภาพชั่วระยะเวลาหน่งึ ปา่ ไม้ก็จะ ข้ึนสมบูรณ์เอง การระดมปลูกป่าด้วยความไม่เข้าใจ เช่น นำหน้าดินซ่ึงมีคุณค่ามากออกไปและปลูก พันธ์ุไม้ซึ่งไม่เหมาะสมกับสภาพท้องถ่ินและระบบนิเวศบริเวณน้ันนอกจากต้นไม้ที่ปลูกไว้ จะตายโดย ไม่ไดป้ ระโยชนแ์ ล้วยงั ทำลายสภาพแวดลอ้ มอีกดว้ ย (3) ฝายชะลอความชมุ่ ชน้ื (Check Dam)

2-19 เกิดจากพระปรีชาสามารถอันย่ิงใหญ่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ท่ีได้ทรง คิดค้นข้ึนเพ่ือเป็นวิธีการในการสร้างความชุ่มช้ืนให้กับพื้นที่ป่าไม้ด้วยวิธีง่าย ๆ ประหยัด และได้ผลดี คือ การสร้างฝายเล็ก ๆ ให้สอดคล้องไปกับสภาพธรรมชาติโดยการใช้วัสดุธรรมชาติ ที่หาได้ง่ายใน ทอ้ งถิน่ ฝายชะลอความชุ่มช้ืนมีอยู่ 2 ประเภท คือ ฝายต้นน้ำลำธารสำหรับ กักกระแสน้ำไว้ให้ไหลช้า ลง และสามารถซึมลงใต้ผิวดินเพื่อสร้างความชุ่มช้ืนในบริเวณน้ัน และอีกประเภทหน่ึง คือ ฝายดัก ตะกอนดินและทรายมิให้ไหลลงสู่แหล่งน้ำเบื้องล่าง ฝายทั้งสองนี้สรา้ งความชมุ่ ช้ืนและชะลอความชุ่ม ชืน้ เปน็ ระบบวงจรน้ำท่ีอำนวยประโยชน์แก่การฟ้นื ฟแู ละอนุรักษ์ป่าไม้ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพดียิ่ง ดัง ตวั อยา่ งท่ศี นู ย์ศึกษาการพฒั นาห้วยฮอ่ งไคร้ จังหวดั เชียงใหม่ เป็นตน้ (4) การใชพ้ นื้ ที่ท่ีเปน็ ดนิ พรุ เนื่องจากดินพรุเกิดจากซากพืชท่ีทับถมกัน โดยยังไม่เกิดการสลายตัว มีอินทรียวัตถุสูงมากเกินไปและมีน้ำแช่ขังตลอดปี ทำให้มีโครงสร้างท่ีไม่เหมาะสมต่อการปลูกพืช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ส่วนราชการต่าง ๆ ร่วมกันพิจารณา หาแนวทางแก้ไขปัญหาพ้ืนท่ีป่าพรุภาคใต้ และศึกษาค้นคว้าวิจัยถึงระบบนิเวศน์ของป่าพรุโดยได้ต้ัง ศูนย์ศึกษาพัฒนาพิกุลทอง ฯ ในปี 2525 เป็นหน่วยงานกลางในการประสานงาน ปัจจุบันศูนย์ฯ ได้กำหนดเขตการใช้ที่ดินบริเวณพื้นที่ป่าพรุ ออกเป็น 3 เขต คือ เขตสงวน เขตอนุรักษ์ และเขต พัฒนา ตลอดจนไดด้ ำเนินการพัฒนาพ้ืนท่ีป่าพรุให้สามารถใชป้ ระโยชน์ได้อย่างหลากหลายวิธี ภายใต้ ความสมดุลของระบบนเิ วศธรรมชาติ (5) การปลกู ป่าทดแทน มีการดำเนินการในหลายลักษณะตามสภาพภูมิประเทศ และสภาวะแวดล้อมของ พ้ืนท่ีท่ีเหมาะสม กล่าวคือ การปลูกป่าทดแทนพ้ืนที่ป่าไม้ถูกบุกรุกแผ้วถาง และพ้ืนท่ีป่าเส่ือมโทรม การปลูกป่าเนื่องจากพื้นที่ป่าตามบริเวณอ่างเก็บน้ำหรือเหนืออ่างเก็บน้ำ ไม่มีความชุ่มชื้นยาวนานพอ การปลูกป่าบนเขาสูง เนื่องจากสภาพป่าบนท่ีเขาสูงทรุดโทรม ซึ่งจะมีผลกระทบต่อลุ่มน้ำตอนล่าง การปลูกป่าเพ่ือให้ราษฎรมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยใช้ราษฎรในท้องท่ีน้ัน ๆ และเป็นการสร้างความเข้าใจให้ ราษฎรเห็นความสำคัญของการปลูกป่า และการปลูกป่าเสริมธรรมชาติเป็นการเพิ่มท่ีอยู่อาศัยแก่สัตว์ป่า รวมท้ังการปลูกป่าชายเลน เปน็ ตน้ (6) การศึกษาวจิ ยั ด้านปา่ ไม้ ในประเด็นเก่ียวกับการศึกษาพัฒนาและวิจัยความสัมพันธ์ของป่าไม้ กับสิ่งแวดล้อม อื่น ๆ เช่น ป่าไม้ ประมงในพ้ืนท่ีป่าชายเลน การพัฒนาด้านชลประทานเกี่ยวกับป่าไม้โดยการจ่ายน้ำตาม แหล่งน้ำในช่วงฤดูร้อนเพ่ือให้มีความชุ่มชื้นและทำให้ป่าต้นน้ำลำธารมีความชุ่มช้ืนสมบูรณ์ตลอดทั้งปีและ ปลูกไม้พื้นล่างเสริมเพ่ือช่วยลดความรุนแรงของกระแสน้ำในฤดูฝน รวมทั้งการศึกษาเก่ียวกับการป้องกัน ไฟปา่ โดยใช้ระบบป่าเปียก เปน็ ตน้

2-20 การดำเนินงานตามแนวพระราชดำริในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้นั้น ปรากฏผลเป็นที่น่าพอใจ และเกิดประโยชน์ใหญ่หลวงต่อพสกนิกรผู้ยากไร้ซึ่งอาศัยอยู่ในท้องถ่ิน ทุรกันดารเป็นจำนวนมาก ราษฎรที่อยู่ในพื้นที่โครงการเริ่มมีความเป็นอยู่ที่ดีมีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้น มีหลักแหล่งในการประกอบอาชีพที่แน่นอน การอพยพเคลื่อนย้ายเข้ามาบุกรุกทำลายป่าเพื่อ ทำการเกษตรน้อยลงมาก ซึ่งเป็นประโยชน์ยิ่งใหญ่ต่อประเทศชาติเป็นส่วนรวมอย่างน้อยที่สุด สามารถหยุดยั้งลงได้ หรือจำกัดขอบเขตในการบุกรุกทำลายป่าจากกลุ่มคนเหล่านั้นได้ และหาก คนกลุ่มนี้ได้ มีความเข้าใจและเห็นคุณค่าความสำคัญของทรัพยากรป่าไม้ ซึ่งเขาจะต้องหวงแหน และช่วยกันดูแลคุ้มครองเพราะเป็นที่จะให้หรือจะสร้างคุณภาพชีวิตที่สมบูรณ์ต่อชุมชนของเขา เหล่าน้ัน และประเทศชาติโดยส่วนรวมต่อไป สรุป ส่ิงแวดล้อมรอบ ๆ ตัวมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ หรือสิ่งแวดล้อมท่ีมนุษย์สร้างขึ้น ลว้ นมีอทิ ธิพลอยา่ งลึกซึ้งตอ่ ความเป็นอยู่ การอยู่รอด และมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชวี ิต และมนุษย์ รวมทัง้ วธิ ี จัดการกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์เป็นอย่างมาก การเปล่ียนแปลงทางภูมิศาสตร์ของโลก ไม่ว่าจะเป็น การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา สภาพลมฟ้าอากาศ ลักษณะภมู ิประเทศ ย่อมสง่ ผลกระทบ ต่อวิถกี ารดำเนิน ชีวิตของมนุษย์ เพราะสิ่งแวดล้อมจะทำให้มีการเปล่ียนแปลงในองค์ประกอบการกระจายผลผลิตของสังคมพืช และสัตว์ ซ่ึงส่งผลสะท้อนไปถึงชีวิตความเป็นอยู่ ของมนุษย์มากที่สุดโดยจะเห็นได้ค่อนข้างชัดเจนจาก วิวฒั นาการของส่ิงมชี วี ติ ในแตล่ ะยคุ แตล่ ะสมัย ข้นึ อยู่กบั ลกั ษณะส่ิงแวดล้อมท่เี ปล่ยี นไป มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กันเป็นวงจรไม่สามารถท่ีจะบอกได้ชัดเจนว่าสิ่งใด มีอิทธพิ ลต่อ สง่ิ ใดมากกวา่ กัน ส่ิงแวดลอ้ มมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความเป็นอยู่ของมนุษย์ และกิจกรรม ของมนุษย์ มนุษย์ ก็เป็นตัวการสำคัญในการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม เมื่อสิ่งแวดล้อมเปล่ียนแปลง ย่อมส่งผลกระทบต่อมนุษย์ ให้เปลี่ยนแปลงอีกต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และจะดำเนินต่อไปในอนาคต ถ้าไม่อยากให้ความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างสิ่งมีชวี ิตกับสิง่ แวดล้อมตอ้ งสูญส้ินไป ควรช่วยกันรกั ษาและอนรุ ักษใ์ หอ้ ย่คู กู่ ับมนุษย์เราต่อไป ทรพั ยากรเป็นสงิ่ ท่มี นุษยน์ ำมาใช้ประโยชนเ์ พื่อการดำรงชีวิตประจำวัน ทรพั ยากรบางชนิดเป็น สง่ิ ท่ีใช้แล้วหมดไป เราจึงควรใชอ้ ย่างประหยัดและให้เกดิ ประโยชน์คุ้มค่าที่สุด เพื่อใหม้ ีทรพั ยากรไว้ใช้ ต่อไปในอนาคต ถ้าเราใช้ทรัพยากรธรรมชาติมากเกินไปหรือใช้อย่างไม่ถูกวิธีก็อาจทำให้เกิดปัญหา ส่ิงแวดล้อมตามมาได้ ดงั นน้ั เราจึงจำเป็นตอ้ งเรยี นรู้การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน

2-21 เอกสารอา้ งอิง เกษม จันทร์แก้ว. (2545). การจัดการสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน. พมิ พ์ครงั้ ที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ คณะกรรมการบรหิ ารวชิ าการบูรณาการ หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป. (2543). สิง่ แวดลอ้ ม เทคโนโลยแี ละ ชีวิต. พมิ พ์ครงั้ ที่ 3. กรงุ เทพ : มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ จุไรรตั น์ คุรุโคตร. (2563). ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม. เอกสารประกอบการสอน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. วัฒนา จูฑะพันธ์ุ. (2545). วิทยาศาสตร์ส่ิงแวดล้อม. กรุงเทพฯ: อักษรพิทยา.

2-22 4 คาบ แบบฝกึ หัด/กจิ กรรมท้ายบท บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเก่ยี วกบั การพัฒนา และการอนรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 1. จงอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม อิทธิพลของส่ิงแวดล้อมท่ีมีต่อมนุษย์ อิทธิพลของมนุษยท์ ี่มีต่อสง่ิ แวดล้อม 2. จงอธิบายหลักการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 3. จงอธิบายการพฒั นาตามแนวพระราชดำริ หลกั การของโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ 4. จงอธิบายพระราชกรณี ยกิจด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว รชั กาลที่ 9

3-1 แผนบรหิ ารการสอน บทที่ 3 ปัญหาและผลกระทบจากการพฒั นาทม่ี ตี ่อคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม 4 คาบ เนอื้ หาหลักประจำบท 1. การพัฒนากับส่ิงแวดล้อม 2. คณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม 3. ปญั หาสิง่ แวดล้อมทีเ่ กดิ จากการพฒั นา 4. ผลกระทบจากการพฒั นาต่อคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม 5. แนวทางการพัฒนาทยี่ ่งั ยนื และเป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1. บอกปญั หาและผลกระทบจากการพฒั นาทม่ี ีตอ่ คุณภาพส่ิงแวดล้อมได้ 2. อธบิ ายความหมายของคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มได้ 3. บอกปัญหาสิง่ แวดล้อมที่เกิดจากการพัฒนาได้ 4. อธิบายผลกระทบจากการพฒั นาตอ่ คุณภาพส่ิงแวดล้อมได้ 5. บอกแนวทางการพฒั นาท่ียั่งยืนและเปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อมได้ กิจกรรมการเรียนการสอน 1. บรรยาย 2. กิจกรรมเดย่ี วและกลุ่ม 3. นำเสนองานและการอภปิ ราย สอื่ การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาความยั่งยืนของส่งิ แวดล้อม 2. วดี ิทศั น์ 3. โปรแกรม Power Point สำหรบั ประกอบการบรรยาย การวดั ประเมินผล 1. สงั เกตความสนใจในขณะบรรยายและการทำกิจกรรมเดี่ยวและกลุ่ม 2. สงั เกตการมสี ่วนร่วมในการทำกจิ กรรมเดี่ยวและกลุ่ม และการอภปิ ราย 3. ทดสอบดว้ ยแบบฝึกหัดทา้ ยบทและแบบทดสอบ

3-2 บทที่ 3 ปัญหาและผลกระทบจากการพัฒนาที่มตี ่อคณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ ม สินีนาฏ พวงมณี บทนำ โดยทั่วไปประเทศด้อยพัฒนา/กำลังพัฒนา ได้พยายามวางแผน/นโยบายในการพัฒนาประเทศ เพื่อให้เจริญรุ่งเรือง แต่การพัฒนานั้นอาจไปไกลเกินความต้องการ หรือเร็วเกินไปจนประชาชนทั่วไป ของประเทศตามไม่ทัน การพัฒนาทุกกรณีจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศเพื่อเป็น วัตถุดิบป้อนการพัฒนา ปัญหาท่ีตามมาจะพบว่ามีมลภาวะเกิดข้ึนเกินขีดจำกัดที่ธรรมชาติจะรับได้ จนกอ่ ใหเ้ กิดภัยต่อมนุษยแ์ ละส่งิ แวดล้อม ทั้งน้ี การพัฒนาดังกล่าวเป็นการพัฒนาท่ีมิได้พิจารณาถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีจะตามมา คดิ คำนึงเพยี งประเด็นด้านเศรษฐศาสตรเ์ พยี งอย่างเดียว โดยไม่ได้คดิ ถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมหรอื เปน็ พิษ หรือปัญหาการเสียสมดุลทางนิเวศวิทยาของบริเวณ ดังนั้น เพ่ือให้การพัฒนาเป็นไปได้อย่างดีและ เหมาะสมจงึ ต้องคำนึงถงึ สมดลุ ทางนิเวศด้วย 3.1 การพัฒนากบั ส่งิ แวดล้อม 3.1.1. การพัฒนา การพัฒนาเป็นเร่ืองที่เก่ียวข้องกับศาสตร์ต่าง ๆ หลายด้าน เช่น ด้านเศรษฐศาสตร์ ที่เน้นเร่ืองความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของคนในสังคม ด้านรัฐศาสตร์การ พัฒนา หมายถึง การปฏิรูปการเมือง ให้มีประสิทธิภาพเพ่ือตอบสนองต่อความเจริญทางด้าน เศรษฐกิจและเทคโนโลยีของคนในสังคมตลอดจนการแจกแจงทรัพยากรอย่างเป็นธรรมให้แก่คนใน สังคม ดังนั้น การพัฒนาจึง เป็นการสร้างสันติสุขให้กับสังคม สังคมจึงเป็นสังคมท่ีน่าอยู่ การพัฒนาจงึ ขยายไปถึงการศึกษาที่ถูกต้อง การศึกษาท่ีสอนให้คนช่วยตนเองเป็นสังคมแห่งความรู้ได้ ในอนาคต (ณัฐวรรธน์ สนุ ทรวริทธิโชติ, 2556) โดยในอดตี ถึงปัจจุบันการพัฒนาประเทศ รวมท้ังการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมและ การเติบโตของประชากรที่รวดเร็ว ส่งผลให้เกิดรูปแบบของการพัฒนาที่มุ่งเน้นผลกำไรจำนวนมาก ในหลายภูมิภาครวมท้ังนานาประเทศใช้ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างขาดประสิทธิผล เกิดการเบียดเบียนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาทางส่ิงแวดล้อม

3-3 และสงั คม โดยเฉพาะปญั หาด้านส่งิ แวดล้อมท่ีส่งผลกระทบตอ่ ชีวิตความเปน็ อยู่ สุขภาพจติ และสภาพ สังคมของประชาชนในหลายพื้นที่เป็นอย่างมาก อีกท้ังการที่จำนวนประชากรขยายตัวท่ามกลางการ ขาดความตระหนักและจิตสำนึกในการใช้ทรัพยากร โดยไม่คำนึงถึงผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม การใช้ วตั ถุดิบทำให้เกิดของเสียท่ีอาจกลายเป็นมลพิษส่ิงแวดล้อมได้อย่างไรข้ ีดจำกัด มีผลทำให้ปัจจุบันเกิด สถานการณ์และแนวโน้มความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรง เพมิ่ มากข้ึน แม้การพัฒนาตามแผนพัฒนาและนโยบายต่าง ๆ ของประเทศจะเร่ิมกล่าวถึงคุณภาพ สิ่งแวดลอ้ มมากขึน้ และผู้ประกอบการในระบบอตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ ได้เริม่ ตระหนักถึงความสำคัญของ ผลเสียและอนั ตรายจากมลพิษทางด้านสิ่งแวดล้อมทเ่ี กดิ จากกระบวนการผลิต ประกอบกับประชาชน มคี วามรคู้ วามเข้าใจในเร่ืองของผลกระทบทางส่ิงแวดลอ้ มเพ่มิ ขึ้น ทำใหผ้ ู้ประกอบการเรม่ิ ติดตั้งระบบ บำบัดมลพิษเพ่ือลดปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมมาดข้ึน อย่างไรก็ตาม การพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศก็ยังคงต้องเติบโตท่ามกลางการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมที่ทันสมัย และมี ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ก้าวทันการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการ พัฒนาในระดบั โลก และความตอ้ งการของผู้บริโภคก็ยังคงมแี นวโน้มสูงข้ึน ทำให้ความต้องการในการ ผลิตต้องเพ่ิมสูงขึ้น และส่งผลต่อระบบบำบัดท่ีสร้างขึ้นมาได้นั้น จะต้องรับภาระในการบำบัดมลพิษ หรอื ของเสียจากกระบวนการผลิตทเ่ี พ่ิมมากข้นึ ตามไปด้วย (วนั วสิ า ภูจ่ ินดา, 2561) 3.1.2 สิ่งแวดล้อม ส่ิงแวดล้อม (Environment) เป็นสิ่งสำคัญสำหรับมนุษย์ การอาศัยพึ่งพาซ่ึงกันและกัน ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมเป็นส่ิงสำคัญอย่างยิ่ง ดังนั้น ถ้าต้องการให้มนุษย์กับส่ิงแวดล้อมอยู่ ร่วมกนั อยา่ งเป็นมติ รซึง่ กนั และกนั จึงตอ้ งทำความเขา้ ใจกบั คำว่า “สงิ่ แวดล้อม” ให้ดยี ิง่ ขน้ึ สง่ิ แวดล้อม หมายถึง สรรพสิ่งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ มนุษย์สร้างข้ึนเป็นประโยชน์และ โทษ เห็นและไม่เหน็ ด้วยตาเปลา่ เป็นรปู ธรรมและนามธรรม และส่งิ เปน็ และไม่เป็นพิษ ค ว า ม ห ม าย ต าม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ส่ งเส ริ ม แ ล ะ รั ก ษ า คุ ณ ภ า พ ส่ิ งแ ว ด ล้ อ ม แ ห่ ง ช า ติ พ.ศ. 2535 หมายถึง ส่ิงต่าง ๆ ที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพท่ีอยู่รอบตัวมนุษย์ ซึ่งเกิดขึ้นโดย ธรรมชาตแิ ละสงิ่ ที่มนุษย์ได้ทำขนึ้ ประเภทของสิ่งแวดลอ้ ม สงิ่ แวดลอ้ มสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท ดังนี้ (1) สิ่งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ (Natural Environmental) เช่น ดิน น้ำ แร่ ป่าไม้ สัตว์ มนษุ ย์ อากาศ แสงแดด เปน็ ตน้ ส่ิงทเ่ี กดิ ขึ้นโดยธรรมชาตินนั้ อาจเป็นได้ 2 ประเภทคอื (1.1) สิ่งที่มชี ีวิต (Biotic Environmental) เป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึน โดยธรรมชาติ มีลกั ษณะและสมบัตเิ ฉพาะตัวของส่งิ มีชวี ติ เช่น พืช สัตว์ และ มนษุ ย์ เป็นตน้

3-4 (1.2) สิ่ งไม่ มี ชี วิต (Non-Biotic Environmental) เป็ น สิ่ งท่ี เกิ ด ขึ้ น โดยธรรมชาติท่ีไม่มีชีวิต อาจเห็นหรือไม่เห็นได้ เช่น ดิน น้ำ ก๊าซ อากาศ ควัน แร่ เมฆ แสง เสียง เปน็ ตน้ (2) ส่ิงท่ีมนุษย์สร้างข้ึน (Man-Made Environmental) เช่น เมือง บ้าน ถนน สะพาน โต๊ะ เก้าอี้ เรือ รถ เคร่ืองบิน วัด วัฒนธรรม ศาสนา ประเพณี การศึกษา เป็นต้น สามารถ สรปุ สง่ิ ทมี่ นุษย์สร้างข้ึนแบ่งออกเป็น 2 ประการ ใหญ่ ๆ คือ (2.1) ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environmental) เป็นส่ิงที่ มนุษย์สร้างขึ้นที่สามารถมองเห็นได้ เช่น บ้านเรือน ถนน เมือง สะพาน รถ เคร่ืองบิน เรือ เจดีย์ วัด การเกษตร ฯลฯ (2.2) ส่ิงแวดล้อม ท างสังคมห รือน าม ธรรมส่ิงแวดล้อม (Social Environmental หรือ Abstract Environmental) เป็นส่ิงท่ีมนุษย์สร้างขึ้น โดยความต้ังใจและ ไม่ต้ังใจ หรือการสร้างเพ่ือความเป็นระเบียบของการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เป็นส่ิงแวดล้อมท่ี มนุษย์ในลักษณะมโนภาพ คือ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ กฎเกณฑ์ รวมถึง พฤตกิ รรมต่าง ๆ ของมนุษย์ทีเ่ ปน็ ทง้ั ทางบวกและทางลบ โครงสรา้ งความรทู้ างส่ิงแวดล้อม นักวิชาการส่ิงแวดล้อม ได้แบ่งโครงสร้างความรู้ทางส่ิงแวดล้อมออกเป็น 4 กลมุ่ ได้แก่ (1) ทรัพยากรธรรมชาติ/ทรัพยากร ได้แก่ ส่ิงท่ีเกิดข้ึนท้ังโดยธรรมชาติ เช่น ดิน นำ้ ปา่ ไม้ สัตวป์ า่ อากาศ หินแร่ แสงอาทิตย์ นำ้ มัน ก๊าซธรรมชาติ เปน็ ตน้ (2) สังคมส่ิงแวดล้อม หมายถึงกลุ่มโครงสร้างความรู้ทางสิ่งแวดล้อมท่ีเก่ียวกับ สังคมได้แก่ ประชากร สาธารณสุข การศึกษา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สถานภาพทางสังคม อุบัติเหตุ อาชญากรรม (3) เทคโนโลยีส่ิงแวดลอ้ ม ได้แก่ กลมุ่ โครงสร้างความรู้สิง่ แวดลอ้ ม ท่ีเป็นลักษณะ เคร่ืองมือ อุปกรณ์ แผนงาน ได้แก่ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม แผนงาน/โครงการเครื่องมือ เครื่องใช้ การแปรรปู ทรพั ยากรให้มนุษย์สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ มบี ทบาททีส่ ามารถกำจดั ของเสยี /มลพิษ สิ่งแวดลอ้ ม ใหแ้ ปรสภาพเปน็ ทรัพยากรท่ีมนษุ ยส์ ามารถนำมาใช้ได้อีก (Recycling) (4) ของเสีย/มลพิษสิ่งแวดลอ้ ม ได้แก่ ขยะมูลฝอยของเสียอตุ สาหกรรม สารเคมี น้ำเสยี อากาศเสยี เสยี งดงั ฝุ่นละออง ของเนา่ เสยี อาหารเป็นพิษ เป็นต้น คุณสมบัติเฉพาะตวั ของสิ่งแวดล้อม คุณสมบัติของส่ิงแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่มีอยู่ในตัวซึ่งมีศักย์ในการแสดงออกใน สิ่งน้ัน ๆ การฝืนศักย์ของส่ิงแวดล้อมน้ัน ๆ ย่อมก่อให้เกิดปัญหา ต่อส่ิงแวดล้อมอื่น ๆ เสมอ

3-5 ไมม่ ากกน็ อ้ ย ดังนน้ั การท่ีจะทำให้ส่ิงแวดล้อมยั่งยืน (Sustainable Environment) จำเป็นต้องเขา้ ใจ ถึงสมบตั ิของส่งิ แวดล้อมนนั้ เสมอ ซงึ่ มี 7 ประการ ดังน้ี 1) มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว สิ่งแวดล้อมแต่ละประเภทจะมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวในการที่จะแสดงว่ามนั คืออะไร เช่น ป่าไม้ ดนิ น้ำ สัตว์ เป็นต้น การเปล่ียนเอกลักษณ์จะไม่ เกดิ ขน้ึ ในมหภาค (Macro scale) แต่อาจเปลย่ี นในจลุ ภาค (Micro Scale) 2) ไม่อยู่โดดเด่ียวสิ่งแวดล้อมจะต้องมีส่ิงแวดล้อมอ่ืนด้วยเสมอ เช่น ปลา กับน้ำ ต้นไม้กบั ดนิ เป็นตน้ 3) มีความต้องการส่ิงแวดล้อมอื่นเสมอ ส่ิงแวดล้อมแต่ละประเภทจะ มคี วามต้องการส่ิงแวดล้อมอื่นเสมอเพอ่ื ความอยู่รอดและรักษาสถานภาพตนเอง เช่น ปลาต้องการน้ำ มนษุ ย์ต้องการท่อี ยู่อาศัย เปน็ ต้น 4) อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม/ระบบนิเวศ ซึ่งภายในระบบจะมีองค์ประกอบและ หน้าทเ่ี ฉพาะของมนั เอง 5) มีความเก่ียวเน่ืองสัมพันธ์กันเป็นลูกโซ่ ดังน้ัน เม่ือทำลายสิ่งแวดล้อม หน่งึ ก็จะกอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมอนื่ ๆ เปน็ ลูกโซ่เสมอ เช่น การทำลายป่าไม้ ก่อให้เกดิ การ ชะลา้ งพงั ทลายของดนิ เกิดอทุ กภัย เปน็ ตน้ 6) สิ่งแวดล้อมแต่ละประเภทจะมีลักษณะความทนทานและความ เปราะบางตอ่ การถกู กระทบแตกตา่ งกนั 7) สิ่งแวดล้อมีการเปล่ียนแปลงตามกาลเวลา อาจเป็นการเปลี่ยนแปลง ถาวรหรือช่ัวคราวก็ได้ จากคุณสมบัติของสิง่ แวดล้อมท้ัง 7 ขอ้ ทำให้ทราบดีว่า ถา้ หากมีการทำลายหรือ ใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมมากเกินไป ก็จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้ัน ๆ ตามมาเสมอ หรอื ที่เรยี กว่า มลพิษส่งิ แวดล้อม ซึ่งมีมากมายหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นมลพิษทางน้ำ มลพษิ ทางอากาศ มลพษิ ทางดิน มลพษิ ทางเสียง มลพษิ จากขยะและของเสยี เปน็ ต้น ดังน้ัน เมื่อเข้าใจดีถึงเรื่องของสิ่งแวดล้อมแล้ว แต่อีกส่ิงหน่ึงท่ีควรต้องทราบไว้ เก่ียวกับเรื่องท่ีทำให้สภาพแวดล้อมมีปัญหาและส่งผลกระทบต่อมนุษย์ในด้านต่าง ๆ นั้น จึงควร จะต้องได้รู้กับเร่ืองของปัญหาสิ่งแวดล้อม ให้เกิดเข้าใจตรงตามสถานการณ์และเหตุผลของการอยู่ ร่วมกันอยา่ งเป็นมิตร (เกษม จนั ทร์แกว้ , 2558)

3-6 3.2 คุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม 3.2.1 ความหมายของคุณภาพสิง่ แวดล้อม พระราชบัญญัติสง่ เสรมิ และรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2535 ให้ความหมาย ของ “คุณภาพส่ิงแวดล้อม” คือ ดุลยภาพของธรรมชาติ อันได้แก่ สัตว์ พืช และทรัพยากรธรรมชาติ ต่าง ๆ และสิ่งท่ีมนุษย์ได้ทำข้ึน ท้ังนี้เพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีพของประชาชน และความสมบูรณ์ สืบไปของมนุษย์ นิ ย า ม น้ี ช้ี ให้ เห็ น ถึ งค ว า ม ส ำคั ญ ข อ ง ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ที่ ต้ อ ง อ ยู่ ใน ส ภ า พ ส ม ดุ ล เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ที่ย่ังยืนต่อมนุษย์ การขาดสิ่งหน่ึงส่ิงใดท่ีจำเป็นต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ย่อม สง่ ผลต่อส่ิงแวดล้อมอื่นไม่มากก็น้อย ในทำนองเดียวกัน ถ้ามีสิ่งใดมากเกินไปก็ย่อมที่จะส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมอื่นตามมา เพื่อให้เกิดสภาวะสมดุลของส่ิงแวดล้อม จำเป็นต้องรักษาคุณภาพ ส่ิงแวดล้อมให้มีคุณภาพที่ดี และเป็นที่พึ่งของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมด้วย การท่ีรักษาคุณภาพ ส่ิงแวดล้อมให้มีคุณค่าน้ัน ต้องทำการจัดการส่ิงแวดล้อมทุกชนิดให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณ ส่ิงแวดล้อม ซึ่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ให้สาระสำคัญไว้ ดงั น้ี 1. การกำหนดมาตรฐานคุณภาพส่งิ แวดล้อม มาตรฐานคุณภาพส่ิงแวดล้อม หมายถึง ค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำ อากาศ เสียง และ สภาวะอื่น ๆ ของสิ่งแวดล้อม ซ่ึงกำหนดเป็นเกณฑ์ท่ัวไปสำหรับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ ส่ิงแวดล้อม การกำหนดเกณฑ์/ค่ามาตรฐานนี้ นักวิชาการส่ิงแวดล้อมต้องได้ค่าท่ีเหมาะสมที่ไม่มีการ เสี่ยงและปลอดภัยต่อส่ิงแวดล้อมทุกชนิด/ประเภท โดยเฉพาะอย่างย่ิงมนุษย์ต้องอยู่ได้ด้วยหลัก วิชาการ แลว้ ค่ามาตรฐานจะถกู กำหนดขนึ้ ตามสมถะ คือ (1) การฟื้นคืนสภาพตัวเอง (Self Recovery) ของระบบส่ิงแวดล้อมนั้น ๆ หมายถึงว่า ระบบสิ่งแวดล้อมน้ันมีตัวควบคุมที่เป็นพิษ/สารมลพิษ เช่น เปลี่ยนรูปจากท่ีเป็นพิษ (Toxic Form) ให้เป็นรูปท่ีไม่เป็นพิษ (Non-Toxic Form) โดยกระบวนการทางเคมี ฟิสิกส์ หรือ ชีวภาพ ในทำนองเดียวกัน หน้าท่ี/การทำงานของระบบก็อาจมีส่วนทำให้ระบบฟื้นตัวได้ อย่างไรก็ดี ทุกสิ่งในโลกใบนี้มีข้อจำกัดเสมอ ดังน้ัน ปริมาณสารพิษ/สารมลพิษที่เข้าสู่ระบบจึงเป็นปัจจัยสำคัญ ปริมาณท่ีมากเกินไป การฟ้ืนคืนสภาพด้วยตัวเองจึงเป็นส่ิงที่เป็นไปไม่ได้ หากเป็นไปได้ก็ต้องใช้ เวลานาน ระยะเวลาฟื้นคืนสภาพ (Recovery Period) จะเป็นตัวกำหนดให้มีได้ของสารพิษในแต่ละ ปรมิ าณ และความทนทานต่อสิง่ แวดลอ้ ม (Environmental Resistance) ของมนุษย์หรือสิ่งแวดลอ้ ม อ่ืน ๆ จึงเป็นตวั กำหนดขนาดของการปนเป้ือน (Contamination) ก็คือ คา่ เกณฑ์มาตรฐานนน่ั เอง (2) การฟ้ืนคืนสภาพของสง่ิ แวดล้อม จะขน้ึ อยู่กับลักษณะของความหนาแน่นของ องค์ประกอบภายในระบบ เพราะส่ิงเหล่านี้จะมีผลต่อการฟอกตัวเอง (Self Purification) และรักษา

3-7 ตนเอง (Self Regulation) เช่น ระบบโปร่ง ลมพัดผ่านสะดวก ความลาดชันมาก ดินดูดซับน้ำได้ดี ต้นไม้หนาแน่น และมีศักยภาพทางชีวภาพ (Biotic Potential) รวมท้ังความยืดหยุ่นทางชีวภาพ (Biological Magnification) ที่มีประสิทธิภาพ เหล่าน้ีจะเสริมให้เกิดการฟื้นคืนสภาพเป็นไปได้ด้วยดี และระยะเวลาส้นั 2. จดุ กำหนดคา่ มาตรฐาน การกำหนดค่ามาตรฐานเพ่ือรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมน้ัน มีจุดกำหนดมาตรฐานท่ี แตกต่างกันไป ทั้งนี้ต้องเป็นมาตรฐานที่นอกจากรักษาดุลยภาพของธรรมชาติแล้ว ยังต้องมีผลต่อ มนุษย์ต้ังแต่จุดเร่ิมต้นจนถึงจุดสุดท้ายของกระบวนการสิ่งแวดล้อมน้ัน ๆ ซ่ึงมีการกำหนดมาตรฐาน ดังน้ี (1) แหลง่ กำเนิดมลพษิ แหล่งกำเนิดของสารพิษ/ของเสีย (Point Sources) เป็นส่วนที่สำคัญ นอกจาก จะกำหนดตัวดัชนีส่ิงแวดล้อมแล้ว ขนาดหรือปริมาณท่ียอมให้ปลดปล่อยของเสียหรือสารพิษจาก กระบวนการเกิดมลพิษต่อส่ิงแวดล้อมนั้น ๆ จะต้องพิจารณาว่า ในสภาพแวดล้อมท่ีของเสียและสาร มลพิษจะถูกปลดปล่อยทุก ๆ ขั้นตอนของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นั้นมีอยู่เดิมเท่าไร สมรรถนะ ฟื้นฟูเป็นอย่างไร โอกาสสร้างความแข็งแกร่งหรือความเป็นพิษมากน้อยเพียงใดด้วย ตัวอย่างท่ีเห็น ชัดเจนก็คือ มาตรฐานจากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น ท่อน้ำเสียหรือของเสีย (Effluent) หรือปาก ปล่องโรงงาน (Stack) หรือกากของเสียอ่ืน ๆ ปกติแล้วจะมีค่ามาตรฐานสูงกว่า และถูกควบคุมโดย กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมโยธาธิการ ฯลฯ (2) การฟงุ้ กระจายสู่ส่ิงแวดล้อม เม่ือเกิดการปลดปล่อยของเสีย/สารพิษ ด้วยพลังขับเคลื่อนจากกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์จากแหล่งกำเนิดแล้ว ของเสีย/สารพิษเหล่าน้ีจะฟุ้งกระจาย ถ้าทำให้ความเข้มข้นท่ีมา จากแหล่งกำเนิดนั้นเจือจางก่อนเข้าสู่สิ่งแวดล้อมโดยมีความเข้มข้นลดลง การกำหนดค่ามาตรฐานจึง เป็นอีกค่าหน่ึงที่มุ่งรักษาสมดุลของสิ่งแวดล้อม การฟอกตัวเองหรือการบำบัดด้วยตัวเองจะข้ึนอยู่กับ สภาพภูมปิ ระเทศ สภาพอากาศ ชนิดและปริมาณของเสยี /สารพิษ และอัตราการเคลื่อนตวั ปกติ และ ผู้ควบคุมกำหนดค่ามาตรฐานสิ่งแวดล้อมน้ี คือ กรมควบคมุ มลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม (3) สขุ ภาพอนามยั ของมนุษย์ การกำหนดค่ามาตรฐานเพ่ือสุขภาพอนามัยน้ีเน้นท่ีมนุษย์ จะโดยการบริโภค โดยตรง การสัมผัส การสูดดม หรือกล่ินต่าง ๆ กระทรวงสาธารณสุข โดยสำนักงานต่าง ๆ เป็น ผู้ควบคุม ซ่ึงต้องเป็นการรักษาสภาพแวดล้อมมิให้เกิดปัญหาต่อมนุษย์เป็นหลักสำคัญทุก ๆ ขั้นตอน ของกระบวนการการบริโภค (เกษม จันทร์แก้ว, 2558)

3-8 3.3 ปญั หาส่ิงแวดลอ้ มทเี่ กดิ จากการพฒั นา ปัญหาสิ่งแวดล้อม หมายถึง สภาพแวดล้อมท่ีมีการเปล่ียนแปลงจากสภาพท่ีเคยสามารถ นำมาใช้ประโยชน์ได้สำหรับการดำรงอยู่ของมนุษย์ และปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการใช้ทรัพยากรของ มนุษยอ์ ย่างไมป่ ระหยัดและขาดความรบั ผิดชอบก่อให้เกิดปญั หามลพิษและปญั หาอนื่ ๆ ซึ่งภาวการณ์ ดังกล่าวไม่เป็นท่ีพึงปรารถนาและควรมีการกระทำบางอย่างเพื่อแก้ไขปรับปรุงให้ดีข้ึน (เสรี วรพงษ์, 2561) สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดลอ้ มทม่ี นุษยชาติกำลังเผชิญอยู่ ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและ กำลังพฒั นา สามารถสรปุ ได้ 5 ประการ คือ 1. การเพม่ิ ขึน้ ของประชากรในอัตราท่สี ูงขน้ึ อยา่ งตอ่ เนื่อง 2. การใช้ทรัพยากรอย่างไมย่ ่ังยนื 3. ความยากจน 4. การไม่รวมต้นทุนทางสิง่ แวดล้อมของสนิ ค้าและบริการที่ผลติ จากระบบเศรษฐกิจเข้า ไว้ในมลู ค่าตามปกติ 5. ความพยายามบรหิ ารจัดการธรรมชาติและการลดความหลากหลายทางชวี ภาพ ท้ังที่ ไม่รูไ้ มเ่ ข้าใจอย่างถอ่ งแทว้ ่าธรรมชาติทำงานอยา่ งไร แม้ยุคสงครามเย็นท่ีแบ่งแยกสังคมโลกด้วยความเชื่อทางลัทธิการเมืองจะจบลงไปแล้ว โลกปัจจุบันยังคงมีความแตกต่างท่ีสามารถแบ่งแยกออกเป็น 2 กลุ่ม ด้วยความแตกต่างที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1. ความแตกต่างด้านสิ่งแวดล้อม ในบางประเทศ บางภูมิภาค มีกระบวนการปรับปรุง หรือรักษาส่ิงแวดล้อมที่ดีหรือปรับปรุงให้ดีย่ิงขึ้น ขณะท่ีภูมิภาคอื่นกลับมีความเสื่อมโทรมของ สง่ิ แวดลอ้ ม 2. ความแตกต่างด้านนโยบาย ขณะที่ในบางประเทศ บางภูมิภาค พัฒนานโยบาย สิ่งแวดล้อมและลงมอื ทำอยา่ งจริงจัง เพ่ือเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน บางประเทศหรือบางภูมิภาคยัง ไม่มีทั้งนโยบายและการลงมือทำ ความแตกต่างประเด็นน้ี ไม่ใช่เนื่องมาจากระดับการพัฒนาประเทศ ว่าเป็นประเทศพัฒนาแล้วหรือประเทศที่กำลังพัฒนา ท่ีสำคัญได้แก่ พิธีสารเกียวโต เพ่ือลดก๊าซเรือน กระจกในช้ันบรรยากาศลง สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีสดั ส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกประมาณรอ้ ยละ 30 ของโลก กลับปฏิเสธความรับผิดชอบร่วมกับประชาคมโลกในการแก้ไข โดยไม่สนใจท่ีจะให้ ความสำคัญกบั พิธีสารเกียวโตแมแ้ ต่น้อย ทแี่ สดงให้เห็นถึงความเหน็ แกป่ ระโยชนท์ างเศรษฐกิจของตน แต่เพียงฝ่ายเดียว ขณะท่ีปล่อยให้ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในทางลบเป็นภาระท่ีประชาคมโลกต้อง แบกรับเผชญิ มหันตภยั ร่วมกนั

3-9 3. ความแตกต่างด้านความม่ันคง ที่รวมถึงความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม และความ มั่นคงทางนเิ วศ ปจั จุบันความมน่ั คงปลอดภัยของโลกถูกกำหนดคำจำกดั ความโดยประเทศมหาอำนาจ ให้ยอมรับกันว่า หมายถึง “อิสรภาพจากการโจมตีของผู้กอ่ การรา้ ย” ซ่งึ เปน็ คำจัดความที่คับแคบและ ผิดบริบทอย่างส้ินเชิง ความมั่นคงปลอดภัยของโลกต้องหมายถึง อิสรภาพจากความยากจนและหิว โหย อิสรภาพจากหายนะทางส่ิงแวดล้อม ปราศจาก/พ้นจากความกลวั /ภัยจากสงครามและนิวเคลียร์ โลกท่ีสงบสุขและมีความม่นั คงปลอดภัยทางสังคมและความมั่นคงทางนเิ วศ ตอ้ งถอื วา่ เป็นพื้นฐานของ ความมั่นคงปลอดภัยของโลก ขณะท่ีบางสังคม บางประเทศ/ภูมิภาค มีความม่ันคงดังกล่าว ขณะท่ี บางสังคม บางประเทศ/ภูมิภาค มคี วามเสีย่ งสงู ต่อความหายนะ 4. ความแตกต่างด้านคุณภาพชีวิต ด้านหนึ่ง คือ สังคมท่ีมีการกินการใช้มากเกินไป ท่ีมีประชากรไม่เกินร้อยละ 20 ของประชากรโลก แต่กลับบริโภคทรัพยากรถึงกว่าร้อยละ 90 ขณะที่ อกี สงั คมหนึ่งที่มปี ระชากรกว่า 1,200 ล้านคน ยงั คงดำรงชวี ิตอยู่ดว้ ยรายได้ทีต่ ำ่ กว่า 40 บาท/วนั ปัญหาทางนิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อมมีผลต่อมนุษย์แตกต่างกันออกไปตามระดับความ เสี่ยงและความรุนแรงของปัญหาน้ัน ๆ การวิเคราะห์ความเส่ียงเก่ียวข้องกับกระบวนการจัดจำแนก ประเภทของอันตราย และประเมินความเสี่ยงท่ีสมั พันธ์กับอันตรายน้ัน ๆ แลว้ จัดเรียงลำดับใชข้ อ้ มูลนี้ ประกอบกับข้อมูลอื่น เพ่ือวิเคราะห์ทางเลือกและการตัดสินใจและสาธารณะ ในข้ันตอนการจัด จำแนกประเภทและประเมินความเส่ียงน้ันจะต้องรวมถึงการประเมินโอกาสที่จะเกิดอันตรายแต่ละ ประเภทและประมาณการจำนวนคนที่มีโอกาสจะได้รับภัยนั้น ซึ่งรวมถึงผู้ท่ีจะได้รับอันตรายอย่าง รุนแรงด้วย ดังแสดงในตารางที่ 3.1 แสดงให้เห็นถึงการเปรียบเทียบระดับความเสี่ยงทางนิเวศวิทยา และปัญหาทางสุขภาพที่มีความเสย่ี งสูง ซึ่งจำแนกโดยคณะทีป่ รึกษาของสำนักงานป้องกนั ส่งิ แวดลอ้ ม แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (จิราภรณ์ คชเสนี , 2555 อ้างถึงใน Environmental Protection Agency, 1990)

3-10 ตารางท่ี 3.1 ความเสีย่ งทางนเิ วศวิทยาระดบั ตา่ ง ๆ และความเสีย่ งทางสุขภาพระดบั สงู ความเส่ียงทางนิเวศวิทย-า - การเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศและภาวะโลกรอ้ น ระดับสงู - - การลดลงของโอโซนในบรรยากาศช้นั สตราโตสเฟยี ร์ - - การเปลีย่ นแปลงและทำลายแหลง่ อาศัยของสัตว์ป่า - การสูญพันธ์ุของส่งิ มีชีวิต ความเสี่ยงทางนเิ วศวิท-ยา - ฝนกรด ระดับปานกลาง - - ยาฆ่าแมลง - - สารพิษในบรรยากาศ - - สารเคมที ี่เป็นพษิ สารอาหาร และตอนในผวิ นำ้ ความเสี่ยงทางนิเวศวิท-ยา - น้ำมันร่วั ไหล ระดบั ต่ำ - - การปนเปอ้ื นในแหลง่ นำ้ ใตด้ นิ - - สารกัมมันตรังสี - - ความเปน็ กรดในน้ำ - - มลภาวะทางอณุ หภูมใิ นน้ำ ความเสย่ี งทางสุขภา-พ - มลภาวะทางอากาศภายในอาคาร ระดับสงู - - มลภาวะทางอากาศภายนอกอาคาร - - คนงานในสภาพทต่ี อ้ งเผชญิ กบั สารเคมีในโรงงานหรือไรน่ า - - มลพษิ ในน้ำด่มื - - ยาฆา่ แมลงทีต่ กคา้ งในอาหาร - - สารเคมที ี่เปน็ พษิ ในสนิ คา้ ทม่ี า: จิราภรณ์ คชเสนี, 2555 อ้างถึงใน Environmental Protection Agency, 1990. สิ่งที่สามารถวิเคราะห์ให้เห็นอย่างชัดเจนจากปัจจัยที่เสี่ยงในตารางดังกล่าว คือ สังคมมนุษย์ ไม่มีวันปลอดความเส่ียงจากปัญหาสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะมีระดับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่างไร ก็ตาม ยิ่งระบบเทคโนโลยีมีความสลับซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น และมีผู้ท่ีเก่ียวข้องกับเทคโนโลยีเหล่าน้ัน เพ่ิมมากขึ้น ไม่วา่ จะเป็นผู้ออกแบบ พัฒนา หรือใช้เทคโนโลยีนั้น ย่ิงเปน็ การยากท่ีจะกำหนดค่าความ เส่ียงเน่ืองจากความน่าเชื่อถือของเทคโนโลยีใดก็ตาม (จิราภรณ์ คชเสนี , 2555 อ้างถึงใน Environmental Protection Agency, 1990)

3-11 สาเหตุของการพัฒนาทกี่ ่อให้เกิดปัญหาส่ิงแวดลอ้ มของไทย การพัฒนาของประเทศที่ผ่านมาได้ให้ความสำคัญกับแนวคิดเศรษฐกิจเสรีนิยม หรือ เศรษฐกิจนิยม แม้ดูว่าประสบความสำเร็จจากการเติบโตขยายตัวในอัตราสูง แต่เป็นการเติบโต เชิงปริมาณ มีปัญหาความอ่อนแอเชิงรากฐานของระบบเศรษฐกิจเพราะยังพึ่งตนเองไม่ได้ทาง เทคโนโลยี การผลิตต้องพึ่งพาทุนและเทคโนโลยีจากต่างประเทศ นำไปสู่การผลิตสินค้าของ ตา่ งประเทศในไทยมากกว่าสินค้าท่ีไทยผลิตเอง ตลอดจนพ่ึงพิงตลาดต่างประเทศในการส่งออกสินค้า ดังกลา่ ว การระดมทุนจากจากต่างประเทศทำให้ฐานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมต้องอยู่ในเขต กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล สังคมขยายตัวอย่างรวดเร็ว ขณะท่ี 2 ใน 3 อยู่ในภาคชนบท เป็น ฐานเศรษฐกิจภาคเกษตรอยู่ในภาวะเสียสมดุลของโครงสร้างเศรษฐกิจ สังคม ธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมอยา่ งรวดเรว็ วิกฤตเศรษฐกิจท่ีเกิดเม่ือปี พ.ศ. 2540 เป็นปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 สาเหตุ ของโครงสร้างท่ีสะสมมานาน ทำให้ไม่สามารถปรับตัวตามกระแสโลกาภิวัฒน์และสภาพแวดล้อม สังคมสมัยใหม่ เม่ือส้ินสุดแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 การพัฒนายังขาดสมดุล เศรษฐกิจไทยยังใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างสิ้นเปลือง ปัญหาการบริโภคท่ีมุ่งวัตถุนิยมอย่างต่อเนื่อง จนมาถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9 ผลของการพัฒนาที่ไม่ย่ังยืนเกิดจากการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมท่ีไม่สมดุล การพัฒนาแต่ละมิติยังมีจุดอ่อนท่ีเป็นปัจจัยนำไปสู่ความไม่ยั่งยืน (สุภาสินี ตนั ติศรีสขุ , 2555) ปัญหาสิง่ แวดล้อมของไทย ไดแ้ ก่ 1. การสูญเสยี ทรพั ยากรปา่ ไม้ 2. ทรพั ยากรนำ้ 3. ทรพั ยากรดินและการใชด้ นิ 4. ปัญหาขยะมูลฝอย 5. ปญั หามลพษิ ทางอากาศ 6. ปัญหามลพษิ ทางนำ้ 7. มลพิษพลังงาน 8. ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝงั่ 9. มลพษิ จากสารอนั ตราย 10. มลพิษจากของเสียอันตรายจากชมุ ชน 11. ทรัพยากรธรณีและแร่ 12. ปัญหามลพษิ ทางเสียง (สภุ าสินี ตันติศรสี ุข, 2555)

3-12 3.4 ผลกระทบจากการพฒั นาตอ่ คุณภาพสงิ่ แวดลอ้ ม 3.4.1 ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม มนุษย์มีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โดยที่สิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนด แบบแผนชีวิตความเป็นอยู่ท่ีแตกต่างกันในแต่ละพ้ืนท่ี แตข่ ณะเดียวกันมนุษย์ก็เป็นตัวการสำคัญที่ทำ ให้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะอย่างย่ิงสาเหตุจากการเพิ่มจำนวนประชากรอย่างรวดเร็ว ทำให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยา่ งมากมีผลให้ความต้องการใชท้ รัพยากรเพ่ิมอย่างรวดเรว็ ตามไป ด้วย ประกอบกับปัจจุบันได้มีการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตและความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทำให้ทรัพยากรส้ินเปลืองอย่างรวดเร็วและยังส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมทำให้ เกิดปัญหามลพิษ (Pollution) ในสงิ่ แวดลอ้ ม 3.4.2 ผลกระทบด้านสขุ ภาพ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งการพฒั นาสิ่งแวดลอ้ มและผลกระทบตอ่ สุขภาพ การพัฒนาด้านต่าง ๆ ได้แก่ การพัฒนาด้านอุตสาหกรรม การคมนาคม การเกษตร แหล่งน้ำ การค้า การลงทุน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อปัจจัยกำหนดสุขภาพ (Health Determinants) ท้ังปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมและปัจจัยทางสังคม ที่ต้องเปิดเผยข้อมูลและวิธีป้องกัน ผลกระทบต่อสุขภาพให้ประชาชนทราบและจัดหาข้อมูลให้โดยเร็ว ปัจจัยกำหนดสุขภาพ ประกอบด้วย 12 ปัจจัย ดงั นี้ 1. รายได้และสถานะทางสังคม (Income and Social Status) การศึกษาวิจัย จำนวนมากบ่งช้ีว่ารายได้และสถานะทางสังคม เป็นปัจจยั ท่ีสำคัญปัจจัยหน่ึงที่มีผลต่อสถานะสุขภาพ คนท่ีมีรายได้สูงมักมีสุขภาพดีกว่าคนท่ีมีรายได้ต่ำ ถึงแม้ว่าจะอยู่ภายใตร้ ะบบบรกิ ารสุขภาพที่ยึดหลัก ความเท่าเทียมกันก็ตาม นอกจากน้ี ยังมีการศึกษาจำนวนมากท่ีแสดงให้เห็นว่า ย่ิงสังคมมีการ กระจายรายได้ที่มีความเป็นธรรมมากข้ึนประชาชนในสังคมน้ันก็จะย่ิงมีสุขภาพดีขึ้น ทั้งนี้ โดยมิได้ ข้นึ อยกู่ บั รายจ่ายด้านบรกิ ารสุขภาพของแต่ละประเทศเลย 2. เครือข่ายการช่วยเหลือทางสังคม (Social Support Networks) ครอบครัว เพ่ือน และการช่วยเหลือกันในสังคมมีผลต่อสุขภาพท่ีดีข้ึน ช่วยลดความเครียดและแก้ปัญหาหลาย ประการจากการศึกษาวิจัยพบว่า คนที่มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมดีจะมีอัตราการตายก่อนวัยอันสมควร นอ้ ยกว่าคนทมี่ ปี ฏสิ มั พันธท์ างสงั คมน้อยอยา่ งชดั เจน 3. การศึกษา (Education and Literacy) ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับ สถานะทางสุขภาพเพราะระดับการศึกษามีผลต่อการจ้างงาน รายได้ ความมั่นคง และความพึงพอใจ ต่อการทำงาน การมีทกั ษะที่จำเป็นต่อการแกป้ ัญหา ผู้ทมี่ ีการศึกษาจะสามารถเข้าถึงและเข้าใจข้อมูล ข่าวสารที่มีประโยชน์ต่อสขุ ภาพไดด้ ีกว่า

3-13 4. การมีงานทำและสภาพการทำงาน (Employment Working Conditions) งานทำและการว่างงานมีผลมากต่อสถานะทางสุขภาพ คนว่างงานจะเผชิญกับภาวะความเครียด มีความวิตกกังวล อัตราการเจ็บป่วยและการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลสูงกว่าผู้ที่มีงานทำ แต่สภาพการทำงานก็มีผลต่อสุขภาพ เช่น งานที่มีความเครียด งานที่ไม่มีความก้าวหน้าหรือมั่นคง ความเสย่ี งจากการบาดเจบ็ และโรคจากการทำงาน 5. สิ่งแวดล้อมทางสังคม (Social Environment) ความสำคัญของการสนับสนุน ช่วยเหลือทางสังคมจะขยายสู่ชุมชนที่กว้างขวาง เครือข่ายที่เข้มแข็งจะส่งผลถึงความมีชีวิตชีวาของ สังคม โดยจะสะท้อนถึงสถาบัน องค์กร หรือการปฏิบัติการท่ีชุมชนสร้างความสัมพั นธ์และ ใชท้ รพั ยากรร่วมกัน สังคมทเ่ี ขม้ แขง็ จะชว่ ยลดความเสี่ยงตอ่ สุขภาพ 6. ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) สิง่ แวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ อากาศ น้ำ อาหาร และท่ีพักอาศัย เป็นปัจจัยพ้ืนฐานของสุขภาพ การกระทำของมนุษย์ มีผลทำให้เกิดมลพิษสง่ิ แวดล้อม และเป็นสาเหตุของการเจบ็ ป่วย ทำให้เกิดการบาดเจบ็ และการตาย ก่อนวัยอันสมควรเพ่ิมมากขึ้นอยา่ งตอ่ เนือ่ งในปัจจบุ ัน 7. พฤติกรรมสุขภาพและทักษะชีวิต (Personal Health Practices and Coping Skill) การมีพฤติกรรมสุขภาพและทักษะชีวิตที่ดีจะทำให้สุขภาพดีแข็งแรง เช่น การ รบั ประทานอาหารทสี่ มดุล การออกกำลังกายเป็นประจำ ในขณะท่ีการสบู บุหรี่ การใช้สารเสพติดการ ดมื่ แอลกอฮอลเ์ กินขนาดทำให้เกิดโรคหลายชนิด 8. พัฒนาการที่ดีในวัยเด็ก (Healthy Child Development) หลักฐานจำนวน มากบ่งช้ีว่าช่วงชีวิตก่อนคลอด จนถึงช่วงในวัยเด็ก มีผลต่อสถานะสุขภาพคุณภาพชีวิต ทักษะชีวิต และความสามารถต่าง ๆ เด็กนั้น เม่ือเติบโตเป็นผู้ใหญ่ เช่น เด็กที่เมื่อแรกคลอดมีน้ำหนักน้อย จะมี ความเส่ียงต่อการตาย ความผิดปกติทางสมอง ความพิการแต่กำเนิดและพัฒนาการช้ากว่าเด็กท่ีมี น้ำหนักปกติ นอกจากน้ี การดูแลในวัยเด็กยังมีผลต่อความสมบูรณ์ของจิตใจ และความสัมพันธ์ทาง สังคมเมอื่ เตบิ โตเป็นวยั รนุ่ และผูใ้ หญ่ดว้ ย 9. ปัจจัยทางชีวภาพและพันธุกรรม (Biology and Genetic Endowment) ปัจจัยและกลไกทางชีวภาพของร่างกายมนุษย์ เช่น การเจริญเติบโต การชราภาพ เพศชาย เพศหญิง ตลอดจน พันธุกรรม เป็นปัจจัยที่มีผลต่อสถานะสุขภาพและทำให้การเกิดโรคของแต่ละคนแตกต่าง กนั สารเคมีหลายอย่างในปจั จุบนั มผี ลกระทบทำใหส้ ารพันธุกรรมของคนเปลี่ยนแปลง 10. บริการสุขภาพ (Health Service) บริการสุขภาพท่ีเน้นด้านการส่งเสริม สุขภาพและการป้องกันโรค มีผลต่อสถานะสุขภาพของประชาชนในทางท่ีดีบริการเหล่านี้ ได้แก่ บริการอนามัยแม่และเด็ก การดูแลก่อนคลอดการเสริมสรา้ งภมู ิคุ้มกันโรค การตรวจวนิ ิจฉัยโรคตง้ั แต่ ระยะแรก การใหส้ ขุ ศกึ ษาเก่ียวกบั ปจั จัยเส่ยี งตอ่ สขุ ภาพ และทางเลือกตา่ ง ๆ เพ่อื สุขภาพดี

3-14 11. เพศ (Gender) เพศจะเป็นสิ่งที่บ่งช้ีถึงสถานภาพ บทบาท ทัศนคติ พฤติกรรม คุณค่า อำนาจ และอิทธิพลท่ีมีต่อสังคม เพศยังมีอิทธิพลต่อลำดับความสำคัญและการ ปฏิบตั ใิ นระบบ สขุ ภาพประเด็นสุขภาพหลายชนดิ เปน็ บทบาทหน้าท่ีแยกตามเพศและสถานภาพ 12. วัฒนธรรม (Culture) บุคคลหรือชุมชนอาจได้รับความเส่ียงสุขภาพจาก สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งบ่งชี้โดยคุณค่าทางวัฒนธรรมท่ีมีผลต่อสถานภาพท่ีถูก โดดเด่ยี วหรอื สญู เสีย หรือไมส่ ามารถเขา้ ถึงบรกิ ารด้านสุขภาพที่เหมาะสม 3.4.3 ผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจและสังคม ผลกระทบทางสังคม หมายถึง การเกิดความผิดปกติในบุคคล หรือกลุ่มของบุคคลใน สังคมน้ัน เช่น ความวิปริตทางประสาท โจรผู้ร้าย การเอาเปรียบ การทะเลาะวิวาท การเดินขบวน นดั หยุดงาน จนทาใหส้ ภาพสงั คมเส่ือมไปจากเดิม มลพิษส่ิงแวดล้อมทางสังคม หมายถึง สภาวะทางสังคม ที่ควบคุมทางสังคม (Social Regulators) ขาดประสิทธิภาพ หรือไม่ศักด์ิสิทธ์ิ ทำให้สภาพสังคมท่ีมีแต่ปัญหาและยุ่งเหยิง ไมน่ ่าเปน็ ที่อยอู่ าศัยของคนในสงั คมได้ปกตสิ ขุ ตัวควบคุมในสังคม หมายถึง กฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา ความเช่ือ ซึ่งอาจเสื่อมหรือไม่ศักดิ์สิทธ์ิ ในแง่ของเนื้อหาและรายละเอียดที่จะควบคุมสังคมได้ ท่ัวทุกมุม ได้มีข้อบกพร่องในตัวเองของมันผู้ปฏิบัติในสังคม จึงสามารถจะดนิ้ หลุดจากตวั ควบคุมนั้นได้ อิสระ จึงเกิดความยุ่งยากข้ึนหรือมิฉะน้ันอาจจะเกิดจากความไม่ศักด์ิสิทธ์ิได้ท้ัง ๆ ที่เน้ือหา และ รายละเอียดของตัวควบคมุ นั้นดีพร้อม มอี ทิ ธพิ ลผู้ปฏิบัตไิ ม่ทำตาม ท้งั โดยสว่ นตัวหรือกลุ่มบุคคล หรือ เหตุผลอน่ื ๆ ที่ทำใหเ้ กิดภาวะแวดล้อมทไ่ี ม่น่าอยู่อาศัย เพราะขาดกตกิ า ในสังคมทจ่ี ะช่วยคุ้มครองได้ ตวั อย่างทพ่ี บเห็นทั่ว ๆ ไป ไดแ้ ก่ สังคมประเทศดอ้ ยพัฒนา เขตห่างไกลชุมชน (เนตรทราย นิสสัยสุข, 2556) 3.5 แนวทางการพฒั นาที่ย่งั ยืนและเป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม 3.5.1 แนวคดิ การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื องค์การสหประชาชาติให้ความสนใจเร่ืองการพัฒนาอย่างย่ังยืนมาตั้งแต่ ช่วงปี พ.ศ. 2515 โดยมีการจัดการประชุมเรื่องสิ่งแวดล้อมในระดับโลกขึ้นเป็นคร้ังแรก ที่กรุงสต็อคโฮม ประเทศสวีเดน และในปี 2526 ได้จัดตั้ง คณะกรรมาธิการโลกในเรื่อง สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (World Commission on Environment and Development) เพ่ือทาการศึกษา เรื่องการสร้าง ความสมดุลระหว่างส่ิงแวดล้อมกับการพัฒนา และต่อมาได้เผยแพร่เอกสารช่ือ Our Common Future เรียกร้องให้ชาวโลกเปล่ียนแปลงวิธีการดาเนินชีวิตที่ฟุ่มเฟือย เพื่อให้มีการพัฒนาที่ปลอดภัย ต่อส่ิงแวดล้อม เอกสารฉบับนี้มีส่วนสำคัญต่อการประชุมสุดยอดของโลก หรือ The Earth Summit

3-15 ที่กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล เม่ือปี พ .ศ. 2535 ซึ่งในการประชุมครั้งน้ันมีหนังสือ ประกอบการประชุมเล่มหน่ึงที่เรียกว่า Brultland Report ได้ให้คำจำกัดความคำว่าการพัฒนาท่ี ย่ังยนื ไว้ ดงั นี้ การพัฒนาที่ย่ังยืน เป็นการพัฒนาที่ตอบสนองความจำเป็นของคนยุคปัจจุบันโดยไม่ลด ขีดความสามารถในการตอบสนองความจำเป็นของคนยุคต่อไป (Development That Meets The Needs Of The Present Without Compromising The Ability Of future Generations To Meet Their Own Needs) (กระทรวงพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์, ม.ป.ป.) 3.5.2 เป้าหมายการพฒั นาที่ย่งั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) การพัฒ นาที่ย่ังยืน (Sustainable Development: SD) เริ่มต้นจากการประชุม สหประชาชาติ ครั้งที่ 2 ณ กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล ในปี 1992 (2535) ประเทศสมาชิก ต่าง ๆ ประชุมร่วมกันในหั วข้อว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพั ฒ น า (Environment And Development) และได้เห็นชอบให้ประกาศหลักการแห่งส่ิงแวดล้อม และแผนปฏิบัติการ 21 (Agenda 21) สาหรับ ทศวรรษ 1991–1999 และศตวรรษท่ี 21 เพื่อเป็นแผนแม่บทของโลกสำหรับ การดำเนินงานที่จะทำให้เกดิ การพัฒนาอยา่ งยั่งยืนทั้งในด้านสังคม เศรษฐกจิ และสง่ิ แวดลอ้ ม และใน เวลาต่อมาได้มีการจัดทำเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) จำนวน 8 เป้าหมาย ครอบคลุมระยะเวลา 15 ปี (พ.ศ. 2543 -2558) ได้แก่ เป้าหมายที่ 1 ขจัดความยากจนและความหวิ โหย เป้าหมายท่ี 2 ใหเ้ ดก็ ทกุ คนได้รับการศึกษาระดับประถมศึกษา เปา้ หมายท่ี 3 สง่ เสริมบทบาทสตรีและความเท่าเทียมกนั ทางเพศ เป้าหมายท่ี 4 ลดอตั ราการตายของเดก็ เปา้ หมายท่ี 5 พัฒนาสขุ ภาพสตรีมคี รรภ์ เปา้ หมายที่ 6 ต่อสูโ้ รคเอดส์ มาเลเรยี และโรคสำคัญอ่ืน ๆ เปา้ หมายที่ 7 รกั ษาและจัดการส่งิ แวดล้อมอย่างย่ังยนื เปา้ หมายท่ี 8 สง่ เสริมการเป็นหนุ้ สว่ นเพ่อื การพฒั นาในประชาคมโลก ปัจจุบัน MDGs ได้ส้ินสุดลงแล้ว โดยประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีในหลายประเทศ เช่นเดียวกับประเทศไทย และเพ่ือให้เกิดความต่อเน่ืองของการพัฒนา องค์การสหประชาชาติจึงได้ กำหนดเป้าหมายการพัฒนาขึ้นใหม่โดยอาศัยกรอบความคิดที่มองการพัฒนาเป็นมิติ (Dimensions) ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ให้มีความเช่ือมโยงกัน เรียกวา่ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ Sustainable Development Goals (SDGs) ท้ังนี้ เมื่อเดือนกันยายน 2558 นายกรัฐมนตรี ของไทย พร้อมคณะเข้าร่วมประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยสามัญคร้ังท่ี 70 พร้อมกับผู้นาจาก ประเทศสมาชกิ 193 ประเทศ หวั ขอ้ การประชมุ ในครงั้ น้ัน คือ การพัฒนาที่ย่ังยืน พรอ้ มกันนี้ผูน้ ำจาก

3-16 ประเทศสมาชิกเหล่านี้ได้ร่วมรับรองร่างเอกสารเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนหลังปี 2015 Sustainable Development Goals ที่ เรียกว่าTransforming Our World: the 2030 Agenda for Sustainable Development สำหรับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนของโลก (Sustainable Development Goals: SDGs) ใน 15 ปีข้างหน้าท่ีจะใช้เป็นทิศทางการพัฒนาของประชาคมโลกต้ังแต่เดือนกันยายนปี 2558 ถึงเดือนสิงหาคม 2573 ครอบคลุมระยะเวลา 15 ปี โดยประกอบไปด้วย 17 เป้าหมาย (Goals) 169 เป้าประสงค์ (Targets) โดยเปา้ หมายตา่ ง ๆ ดังแสดงในตารางท่ี 3.2 ตารางท่ี 3.2 แสดงการแบ่งเป้าหมาย SDGs ตามประเดน็ ต่าง ๆ ประเด็น เป้าหมาย ดา้ นสงั คม เปา้ หมายท่ี 1 ขจัดความยากจน เป้าหมายท่ี 2 ขจัดความหวิ โหย เป้าหมายท่ี 3 การมสี ขุ ภาพและความเป็นอยทู่ ีด่ ี เปา้ หมายที่ 4 การศกึ ษาท่ีเทา่ เทียม เปา้ หมายท่ี 5 ความเทา่ เทยี มทางเพศ เปา้ หมายที่ 10 ลดความเหลือ่ มลำ้ ไมเ่ ท่าเทยี ม เปา้ หมายท่ี 11 เมอื งและถิ่นฐานมนุษยอ์ ย่างยง่ั ยืน เปา้ หมายที่ 16 สงั คมสงบสขุ ยตุ ธิ รรม ไมแ่ บ่งแยก ด้านเศรษฐกิจ เปา้ หมายท่ี 7 พลงั งานสะอาดทีท่ ุกคนเขา้ ถึงได้ เปา้ หมายที่ 8 การจา้ งงานที่มคี ุณคา่ และการเติบโตทางเศรษฐกจิ เป้าหมายท่ี 9 อตุ สาหกรรม นวตั กรรม โตครงสรา้ งพื้นฐาน เปา้ หมายที่ 11 เมืองและถน่ิ ฐานมนษุ ยอ์ ยา่ งยง่ั ยืน ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม เป้าหมายท่ี 6 การจดั การน้ำและสขุ าภิบาล เป้าหมายท่ี 12 แผนการบริโภคและการผลติ ที่ย่งั ยนื เป้าหมายที่ 13 การรบั มอื การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เปา้ หมายที่ 14 การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล เปา้ หมายท่ี 15 การใชป้ ระโยชน์จากระบบนเิ วศบก ด้านความร่วมมือ เป้าหมายที่ 17 ความร่วมมือเพอ่ื การพัฒนาทยี่ ่งั ยนื การพฒั นาทยี่ ่ังยืน ท่มี า: กระทรวงพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์, ม.ป.ป.

3-17 3.5.3 แนวคิดการพฒั นาทย่ี ่ังยนื ในประเทศไทย ป ร ะ เท ศ ไท ย เข้ า สู่ ยุ ค พั ฒ น า ใน ช่ ว ง ท ศ ว ร ร ษ แ ห่ ง ก า ร พั ฒ น า ข อ ง ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ (ค.ศ. 1960-1970) และเร่ิมใช้คำว่า “พัฒนา” ในโครงการพัฒนาท้องถิ่นแห่งชาติ ซึ่งรวมอยู่ในช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับท่ี 1 (พ.ศ. 2504-2509) จุดเน้นอยู่ที่การพัฒนาเศรษฐกิจ โดยระดมสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจดว้ ยการสรา้ ง ถนน ไฟฟ้า ประปา เข่ือน เปน็ ต้น ต่อมา ได้เน้นพัฒนาสังคมควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ดังนั้น นับต้ังแต่แผนพัฒนา ฉบับที่ 2 จนถึง ฉบับที่ 11 ช่ือเต็มของแผนพัฒนา จึงเติมคำว่าแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2510-2514) ระยะเวลาของแผน แผนละ 5 ปี ผลจากการพัฒนาประเทศในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-2 เน้นสร้างความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ แต่เกิดปัญหาช่องว่างการกระจายรายได้ของคนในชนบท แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 2 เน้นสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจกับการพัฒนาสังคม ลดอัตราการเพิ่มของประชากรและการ กระจายรายได้ควบคู่กบั การพัฒนาเศรษฐกิจ ในช่วงแผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 4 เกิดวิกฤตการณ์นำ้ มันและ ความผันผวนทางการเมือง เกิดปญั หาการขาดดลุ ทางการคา้ และดุลบญั ชเี ดนิ สะพัดอย่างรนุ แรง แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 5 เน้นการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการแก้ไขปัญหาความยากจน แต่การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ส่งผลให้ภาวะเศรษฐกิจไทย ขยายตวั อย่างร้อนแรงเกนิ กว่าพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ จะรองรบั ได้ ตลอดช่วงเวลาของการพัฒนาในช่วง 30 ปี นับต้ังแต่มีแผนพัฒนาการพัฒนาเศรษฐกิจ ของไทยนับว่าอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับค่อนข้างสูง แต่ในด้านสังคมและจิตใจมี ปัญหา ตลอดจนความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ จนกระท่ังแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) ปัญหาสิ่งแวดล้อมเร่ิมปรากฏชัดขึ้นมา ซึ่งคำว่า Sustainable Development เข้าสู่เมืองไทยในปี พ.ศ. 2530 โดยจากหนังสือ Our Common Future ท่ีตีพิมพ์ปี พ.ศ. 2530 หนังสือเล่มน้ีให้ความสำคัญด้านส่ิงแวดล้อม โดยระบุว่าการพัฒนาที่ผ่านมาเป็นการพัฒนาแบบ ไม่สมดุล ทำให้เกิดมลภาวะและทรัพยากรธรรมชาติร่อยหรอให้เจริญเติบโต ด้วยการรักษาธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ มควบคูก่ ันไป แผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 7 (พ.ศ. 2535-2539) จึงไดป้ รับแนวคิดสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมุ่ง รกั ษาระดับอัตราความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจในระดับท่ีเหมาะสมควบคไู่ ปกับการรกั ษาเสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจ การกระจายรายได้ที่เป็นธรรม ตลอดจนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิตและ สง่ิ แวดล้อม ผลการของการพัฒนาประเทศในช่วง 7 แผนท่ีผ่านมา ประเทศไทยประสบผลสำเร็จใน การพัฒนาเศรษฐกิจท่ีขยายตัวอย่างรวดเร็ว ทำให้ประเทศไทยถูกจัดลำดับจากประเทศยากจนเข้าสู่ ประเทศกำลังพัฒนา แต่การเจริญเติบโตยังอยู่บนพื้นฐานของความไม่สมดุลของการพัฒนา ทำให้เกิด

3-18 ปัญหาความเหลื่อมล้ำของการกระจายรายได้ ทรัพยากรธรรมชาติถูกใช้อย่างสิ้นเปลือง ส่งผลต่อ ระบบนิเวศและความเสื่อมโทรมทางส่ิงแวดล้อมอย่างรนุ แรง ผลของการพัฒนาขยายตัวในระดบั ดี แต่ สงั คมมีปัญหาและการพฒั นาไม่ยงั่ ยืน แผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 8 (พ.ศ. 2540-2544) ช่วงน้เี ป็นจดุ เปล่ียนของการพัฒนาท่เี ปลยี่ น มาเน้นคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา เศรษฐกิจเป็นเคร่ืองมือช่วยพัฒนาคนให้มีความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตท่ีดีข้ึน ปรับเปลี่ยนวิธีพัฒนาเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม เน้นการพัฒนาที่สมดุลมากขึ้น โดย ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2543-2549) และแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550-2554) ที่มุ่งเน้นการพัฒนาที่สมดุลทุกมิติท้ังคน เศรษฐกิจ สังคมและส่ิงแวดล้อม ต่อการสร้างความเข้มแข็ง ต่อทุนที่มีอยู่ในประเทศและการบริหารจัดการความเส่ียงให้พร้อมกับผลกระทบจากภายในและ ภายนอกประเทศ เพ่ือพฒั นาสู่การพฒั นาที่ยง่ั ยืนและความสุขของประชาชน แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555-2559) เน้นพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและย่ังยืน โดยการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ พร้อมก้าวสู่เศรษฐกิจและสังคมสีเขียวบนฐานความรู้และความคิด สร้างสรรค์ และรักษาสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างทุนเศรษฐกิจ (ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนทางวัฒนธรรม) เสริมสร้างทุนเศรษฐกิจ เสริมสร้างทุนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ด้วยการสร้างความม่ันคงทางอาหาร บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นฐานการผลิตของภาคเอกชน มุ่งสู่เศรษฐกิจของสังคมคาร์บอนต่ำ และเป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อม เป็นการพัฒนาที่ทำให้เกิดดุลยภาพท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เพือ่ การอยดู่ ีมีสุขของประชาชน แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ได้กลา่ วถึงการเติบโต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน โดยการรักษาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ สร้างสมดุล ของการอนุรกั ษ์และใช้ประโยชนอ์ ยา่ งยงั่ ยนื และเป็นธรรม นอกจากนี้ การพัฒนาทางเศรษฐกิจท่ีเป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ในยุทธศาสตร์ท่ี 5 การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปน็ มิตรต่อส่ิงแวดล้อม โดยสร้างการ เติบโตอย่างยั่งยืนบนเศรษฐกิจสีเขียว และสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล ซ่ึงสอดคล้องกับแผนการปฏิรูป ประเทศที่ให้ความสำคัญด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยการฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมให้สมบูรณ์อย่างย่ังยืน ลดมลพิษและผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและระบบ นเิ วศ ดังนั้น กล่าวโดยสรุปได้ว่า การพัฒนาแบบย่ังยืน หมายถึง การพัฒนาที่ตรงกับความ ต้องการตามความจำเป็นในปัจจุบันโดยสามารถรองรับความ ต้องการหรือความจาเป็นท่จี ะเกิดแก่ชน รุ่นหลัง ๆ ด้วย ทั้งนี้ มาตรฐานการครองชีพท่ีเลยขีดความจำเป็นข้ันพื้นฐานต่ำสุดจะย่ังยืนต่อเมื่อ มาตรฐานการบรโิ ภคใน ทกุ หนทกุ แห่งคำนึงถงึ ความยั่งยืนในระยะยาว (Long-Term Sustainability)

3-19 รวมถึงครอบคลุม มาตรการการรักษามรดกทางทรัพยากรที่จะตกกับคนรุ่นหลังโดยอย่างน้อยให้ มาก ๆ พอกับชนรุ่นปัจจุบันที่ได้รับมาและเป็นการพัฒนาที่กระจายประโยชน์ของความก้าวหน้า เศรษฐกิจได้อย่างทั่วถึง ตลอดจนเป็นการพัฒนาท่ีปกป้องสิ่งแวดล้อมท้ังในระดับท้องถิ่นและในระดับ โลก โดยรวมเพื่อชนรุน่ หลังและเป็นการพฒั นาท่ีทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้นอย่างแทจ้ รงิ (กระทรวงพัฒนา สงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์, ม.ป.ป. อา้ งถงึ ใน เก้อื วงศบ์ ญุ สนิ , 2538) การพัฒนาอย่างยั่งยืน คอื การอนุรักษ์และการใช้ทรัพยากรอยา่ งพอดีเพื่อให้สามารถใช้ ประโยชน์ต่อไปได้ในระยะยาวและมีการกระจายผลประโยชน์ให้แก่คนส่วนใหญ่ รวมท้ังความร่วมมือ อย่างใกล้ชิดระหว่างผู้เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสีย (กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ มนษุ ย,์ ม.ป.ป. อ้างถึงใน ไพฑูรย์ พงศะบตุ ร, 2544) การพัฒนาท่ียั่งยืน คือ รูปแบบการพัฒนาที่คอยตอบสนองความต้องการของมนุษย์ใน ปจั จุบันโดยไม่มีข้อผอ่ นปรนใด ๆ กับความต้องการทจ่ี าเปน็ ท่ีคอยตอบสนองความต้องการของ มนุษย์ ในอนาคตดว้ ย (กระทรวงพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์, ม.ป.ป. อ้างถงึ ใน คณะกรรมาธิการ กองทุนหมบู่ า้ นและชมุ ชนเมอื งแหง่ ชาติ, 2546) การพัฒนาท่ีย่ังยืนรวมความถึง 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจสังคมและส่ิงแวดล้อมซึ่งความ เช่ือมโยงและความสัมพันธ์กันโครงการพัฒนาใด ๆ ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบท้ัง 3 ดา้ นน้ี การพัฒนา ท่ียง่ั ยืนเป็นอะไรที่ไกลกวา่ เพียงการอนรุ ักษ์สงิ่ แวดล้อม เปน็ การเปลี่ยนโครงสรา้ งระบบ เศรษฐกจิ และ สงั คมเพือ่ ลดการบรโิ ภคทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อมลงไปในระดบั ที่ยงั รักษาความสมดลุ ทดี่ ี ทำให้คนอยู่ ร่วมกับธรรมชาติโดยไม่ทำลายล้างอย่างท่ีผ่านมาและยังทำกันอยู่หลายแห่ง ให้อยู่ร่วมกันเป็นชุมชน อยู่ดีกินดีและอยู่เย็นเป็นสุข (กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์, ม.ป.ป. อ้างถึงใน สทุ ธดิ า ศิริบญุ หลง, 2554) แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง การพัฒนาที่ย่ังยืนจะเกิดขึ้นได้ต่อเม่ือเป้าหมายการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและ สังคม และ ระบบนิเวศเป็นไปในทิศทางเดยี วกัน รวมไปถึงต้องพจิ ารณาถึงความสุ่มเสีย่ งต่อระบบทาง ธรรมชาติที่จำเป็นต่อการดำรงอยู่ของมนุษย์ทั้งในรุ่นนี้และรุ่นต่อไป ซึ่งศาสตร์ของพระราชาในเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวคิดท่ีตอบสนองกับเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้เป็นอย่างดี หากบุคคล และองค์กรนำเอาหลักความพอดีมาใช้ในการดำเนินชีวิตและการบริหารจัดการ ใช้ทรัพยากรต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล มีความพอประมาณในการบริโภค และคำนึงถึงผลที่จะเกิดจากการกระทำอย่าง รอบคอบแล้ว ก็จะเป็นการสร้างความยั่งยืนให้กับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และ ประชาคมโลกได้ (กระทรวงพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย,์ ม.ป.ป. อ้างถงึ ใน จิรายุ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา, ออนไลน์, 2561)

3-20 แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ทรงมีพระราชดำรัสช้ีแนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย มาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำ แนวทางการแก้ไขเพ่ือให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างม่ันคงและย่ังยืนภายใต้กระแส โลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ โดยสำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หน่วยงานต่าง ๆ ได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากสาขาต่าง ๆ มาร่วมกันพิจารณากล่ันกรองพระราชดำรัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในโอกาสต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปออกมาเป็นนิยาม ความหมาย ดังน้ี เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้แนวการดำรงอยู่และ ปฏิบัติตนของประชาชนใน ทุกระดับ ต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการ พฒั นาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง 8 โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่ือให้ก้าว ทนั ตอ่ โลกยุคโลกาภวิ ตั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นท่ี จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้ง ภายนอกและภายใน ท้ังนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวชิ าการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทกุ ข้ันตอน และขณะเดียวกันจะต้อง เสรมิ สร้าง พ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าทขี่ องรัฐ นักทฤษฎีและนกั ธุรกิจในทุกระดับ ให้มี สานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริตและให้มีความรู้ท่ีเหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบเพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและกว้างขวางท้ังด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็น อยา่ งดี โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีต่อความจำเป็นและเหมาะสมกบั ฐานะ ของตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งวัฒนธรรมในแต่ละท้องถ่ินไม่มาเกินไป ไม่น้อยเกินไป และต้อง ไม่เบยี ดเบยี นตนเองและผอู้ ่ืน 2. ความมีเหตุผล หมายถึง หมายถึงการตัดสินใจดำเนินการเรื่องต่าง ๆ อย่างมี เหตุผลตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมท่ีดีงาม คิดถึงปัจจัยท่ี เกี่ยวขอ้ งอย่างถว้ นถ่ี โดยคำนึงถงึ ผลทค่ี าดว่าจะเกิดข้นึ จากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ 3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและ การเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม เพ่ือให้สามารถ ปรับตวั และรบั มือได้อยา่ งทันท่วงที โดยมีเง่ือนไขของการตัดสินใจและดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง 2 ประการ ดงั นี้

3-21 (1) เง่ือนไขความรู้ประกอบด้วยความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง รอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในการปฏบิ ตั ิ (2) เงื่อนไขคุณธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มีความซอ่ื สัตยส์ ุจรติ และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนนิ ชีวิต จึงกล่าวได้ว่าการนำปรัชญาของเศรษฐกิจเพียงพอมาปฏิบัติ คือ การพัฒนาที่ สมดุลและย่ังยืน พร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลงในทุกด้าน ทั้งเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี เป็นแนวทางในการพัฒนาให้สามารถพึ่งตนเองในระดับต่าง ๆ อย่างเป็นข้ันตอน ลดความเส่ียงเก่ียวกับธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณ และสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดี มีความรู้ ความเพียร และความอดทน สติ และปัญญา การช่วยเหลือเกื้อกูล และความสามัคคี โดยภูมิปัญญาท้องถ่ินผสมผสานกับหลักวิชาการ ใช้การพิจารณาวางแผนและ ข้ันตอนการปฏิบัติอย่างรอบคอบ โดยตระหนักในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์ สุจริต ใช้สติปัญญาและ ความเพยี รในการดำเนนิ ชีวิต (กระทรวงพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์, ม.ป.ป.) 3.5.4 แนวทางสคู่ วามสำเรจ็ ของการพฒั นาเพอ่ื สงิ่ แวดล้อมท่ยี ั่งยนื ประเทศไทยควรมีมาตรการเพอื่ พัฒนาไปส่สู ิง่ แวดล้อมทยี่ ่ังยนื หลายแนวทาง ดงั นี้ 1. พัฒนาอุตสาหกรรมเชิงอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ซ่ึงเป็น อุตสาหกรรมที่ยึดม่ันในการประกอบกิจการท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม เพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลติ และการบริหารจัดการส่ิงแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง รวมถงึ ความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ทงั้ ภายในและภายนอกองค์กร ตลอดจนห่วงโซอ่ ุปทาน 2. การลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยการออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ หรือ Eco Design (Economic & Ecological Design) ด้วยการผน วกแน วคิดด้านเศรษ ฐกิจและด้าน ส่ิงแวดล้อมเข้าไปในข้ันตอนการออกแบบ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการนำ หลัก 4R คือ การลด (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และการซ่อม บำรุง (Repair) มาประยุกตใ์ ช้ในช่วงวงจรชวี ิตผลติ ภัณฑ์ 3. การจัดเก็บภาษีส่ิงแวดล้อมกับผู้ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม เช่น อตุ สาหกรรมทก่ี ่อมลพษิ เพอ่ื การลดการกอ่ มลพิษ 4. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยมุ่งรักษาฟ้ืนฟูพื้นท่ีป่าและ เขตอนุรักษ์ ปรับปรงุ ระบบการจดั การทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่ ให้มคี วามสมบูรณ์ตามธรรมชาติ รกั ษาคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ มให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 5. ส่งเสริมการประหยัดพลังงานในภาคการผลิต ภาคการขนส่งและการใช้ใน บ้านเรือน

3-22 6. สร้างระบบบริหารจัดการประเทศเพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่สมดุล ทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม สงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาตขิ องประเทศให้สามารเปน็ ปัจจยั การ ผลติ ในระยะยาว โดยมคี วามสมดลุ ระหว่างการผลิตและการอนรุ กั ษ์ (สภุ าสนิ ี ตันติศรีสขุ , 2555) สรปุ การพัฒนาท่ีมุ่งเน้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี โดยไม่คำนึงถึง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม ซ่ึงเป็นการพัฒนาแบบไม่สมดุล ส่งผลทำให้ทรัพยากรธรรมชาติร่อยหรอ เสื่อมโทรมและเกิดมลภาวะ ดงั น้ัน การพัฒนาที่ดจี ึงควรพัฒนาให้เกิดความสมดุลระหว่างเศรษฐกจิ และธรรมชาติ เปน็ การเนน้ การ พัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม แต่คำนึงถงึ ส่ิงแวดลอ้ ม ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างขาดความรับผดิ ชอบ และมกี ารบรหิ ารจัดการอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลสงู สุดท่ีเรยี กว่า “การพัฒนาทยี่ ั่งยืน”

3-23 เอกสารอา้ งองิ กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์. (ม.ป.ป.) แนวคดิ เก่ียวกบั การพฒั นาทีย่ ่ังยืนและเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม. [ออนไลน์]. สืบคน้ จาก: http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560- 2561/PDF/8387e/5.%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9 %88%202.pdf เกษม จันทร์แกว้ . (2558). วิทยาศาสตรส์ ่งิ แวดล้อม. พิมพ์คร้งั ที่ 9. กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. จิราภรณ์ คชเสนี. (2555). มนุษยก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม. พมิ พค์ ร้ังท่ี 6. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ณัฐวรรธน์ สุนทรวริทธโิ ชติ. (2556). การศกึ ษาสภาพปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มในเขตตำบลสามบัณฑิต: ปัจจัยท่ีมีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมของประชาชนในตำบลสาม บณั ฑิต. [ออนไลน์]. สบื คน้ จาก: http://rdi.aru.ac.th/e_journal/pdf/137.pdf เนตรทราย นสิ สยั สขุ . (2556). ผลกระทบจากการพฒั นาอตุ สาหกรรมอสี เทริ น์ ซีบอร์ด ระยอง กรณีศึกษา ชุมชนตาบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง. (ปัญหาพเิ ศษมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา). วนั วสิ า ภจู่ นิ ดา. (2561). การจดั การส่ิงแวดลอ้ มตามหลักนเิ วศวทิ ยาอุตสาหกรรม. กรงุ เทพมหานคร: สถาบนั บณั ฑติ พัฒนาบรหิ ารศาสตร์. สภุ าสินี ตนั ติศรีสขุ . (2555). การพัฒนาเศรษฐกจิ เพื่อสง่ิ แวดล้อมที่ยั่งยืน. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: https://www.stou.ac.th/schools/sec/ejournal6-2/file/1-2-1.pdf เสรี วรพงษ์. (2561). ส่งิ แวดล้อมกับการพฒั นาที่ย่ังยืน. [ออนไลน์]. สืบคน้ จาก: https://so02.tci-thaijo.org/index.php/isshmu/article/view/145918/107656

3-24 4 คาบ แบบฝกึ หัด/กจิ กรรมท้ายบท บทที่ 3 ปญั หาและผลกระทบจากการพฒั นาทม่ี ีต่อคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม 1. จงอธบิ ายความหมาย “การพัฒนา” และ “การพัฒนาท่ียง่ั ยืน” 2. จงอธิบายความหมาย “คุณภาพสิ่งแวดล้อม” 3. จงอธบิ ายความหมายของปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม 4. จงอธบิ ายปัญหาสง่ิ แวดล้อมท่ีเกดิ จากการพฒั นา 5. จงอธิบายผลกระทบจากการพัฒนาต่อคุณภาพสง่ิ แวดล้อม 6. จงยกตัวอยา่ งแนวทางสู่ความสำเร็จของการพัฒนาเพื่อส่ิงแวดล้อมท่ียง่ั ยนื

4-1 แผนบรหิ ารการสอน บทท่ี 4 มลพิษสงิ่ แวดล้อม 4 คาบ เนื้อหาหลักประจำบท 1. สถานการณ์มลพิษสิ่งแวดล้อม 2. นยิ ามศพั ท์ทีเ่ กี่ยวข้องกบั มลพิษสงิ่ แวดลอ้ ม 3. ภาวะมลพษิ 4. ประเภทของมลพิษสง่ิ แวดล้อม 5. แนวทางการป้องกนั มลพษิ สงิ่ แวดลอ้ ม วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกความเปน็ มาของมลพิษสง่ิ แวดลอ้ มได้ 2. อธิบายความหมายและความสำคญั ของมลพษิ ได้ 3. บอกแหลง่ กำเนิดและประเภทของมลพิษได้ 4. อธบิ ายประเภทของมลพษิ ได้ 5. บอกแนวทางการควบคมุ และแก้ไขมลพษิ ได้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. บรรยาย 2. กจิ กรรมเดยี่ วและกลมุ่ 3. นำเสนองานและการอภิปราย สอื่ การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาความย่ังยนื ของสิ่งแวดลอ้ ม 2. วีดทิ ศั น์ 3. โปรแกรม Power Point สำหรับประกอบการบรรยาย การวัดประเมินผล 1. สังเกตความสนใจในขณะบรรยายและการทำกิจกรรมเด่ียวและกลุม่ 2. สังเกตการณ์มสี ว่ นรว่ มในการทำกิจกรรมเดี่ยวและกลมุ่ และการอภิปราย 3. ทดสอบด้วยแบบฝึกหัดทา้ ยบทและแบบทดสอบ

4-2 บทที่ 4 มลพษิ สง่ิ แวดลอ้ ม สนิ นี าฏ พวงมณี บทนำ ปัญหามลพิษท่ีเกิดขึ้นทั่วโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ มากกว่าการเกิดข้ึนเอง ตามธรรมชาติ ซ่ึงปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นนั้นมีสาเหตุหลักมาจากการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้เกิดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาตอิ ย่างฟุ่มเฟือย เพ่ือนำมาใช้ในการตอบสนองความต้องการของมนุษย์ จนเกิดเป็น ปัญหาสิ่งแวดล้อม ท้ังในระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค และนานาชาติ ไม่ว่าจะเป็นปัญหามลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ฯลฯ ตลอดจนปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการ เปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ เช่น ปัญหาภาวะโลกร้อน ปัญหาภยั แห้ง ปัญหาภยั พบิ ัติ เปน็ ต้น ปัญหาดงั กลา่ วท่เี กิดข้ึน สง่ ผลใหห้ ลาย ๆ ประเทศพยายามหาแนวทาง มาตรการ ขอ้ ตกลงและ วิธีการต่าง ๆ ร่วมกัน ในการที่จะแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งในอดีตนั้น การแก้ปัญหาจะมุ่งเน้นการ แก้ไขด้วยการบำบัด/กำจัดที่ปลายท่อ แต่โดยปัจจุบันได้มีการปรับเปล่ียนแนวทางในการแก้ปัญหาให้ ได้ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ด้วยการใช้เคร่ืองมือหรือเทคนิควิธีการต่าง ๆ ในการป้องกัน ควบคุมและ แกไ้ ขไปพร้อม ๆ กันกับการพัฒนา เพื่อทจี่ ะการดูแลรกั ษาสภาพแวดลอ้ มให้ คงอย่ตู ่อไปอย่างย่งั ยนื 4.1 สถานการณ์มลพษิ ส่งิ แวดลอ้ ม ปัจจุบันปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมได้ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นทั่วโลก ซึ่งส่งผลกระทบต่อมวล มนษุ ยชาติอยา่ งเหน็ ได้ชัด ไม่ว่าจะเปน็ ปัญหามลพิษทางอากาศ ได้แก่ ปัญหาหมอกควันจากไฟไหมป้ ่า ภูเขาไฟระเบิด การเผาไหม้จากพื้นท่ีการเกษตร ปัญหามลพิษทางน้ำ เช่น ปัญหาน้ำเน่าเสีย ปัญหา น้ำท่วม รวมไปถึงปัญหาขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ปัญหาขยะทะเล ขยะพลาสติกและไมโคร พลาสติก อีกทั้งปัญหามลพิษข้ามพรมแดน (Transboundary Pollution) ที่พบเห็นเป็นประจำ เช่น ปัญหาหมอกควันจากไฟไหม้ป่า นอกจากนี้ จากการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศโลกท่ีเกิดขึ้น ยงั ส่งผลให้เกิดปัญหาภาวะโลกรอ้ น ภยั พิบัติต่าง ๆ เช่น น้ำท่วม ภัยแล้ง ซึ่งสร้างความเดือดร้อนและ เสียหายต่อมนษุ ย์ ระบบนเิ วศและส่ิงแวดล้อมเป็นอย่างมาก สำหรับประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2562 มีการผลักดันและขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหามลพิษ ท่ีเกิดข้ึนของประเทศ ทั้งด้านอากาศ ขยะมูลฝอย และน้ำเสีย โดยเฉพาะการจัดการคุณภาพอากาศ

4-3 และปัญหาขยะมูลฝอย จากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 12 กุมภาพันธ์ 2562 กำหนดให้ “การแก้ไข ปัญหามลภาวะ ด้านฝุ่นละออง” เป็นวาระแห่งชาติ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องจัดทำแผนปฏิบัติการ ขับเคล่ือนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษ ด้านฝุ่นละออง” เพ่ือใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองในภาพรวมของประเทศและ ในพื้นที่วิกฤต และ มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 12 พฤศจิกายน 2562 เห็นชอบ กลไกการขับเคลื่อน การงดให้ถุงพลาสติกในห้างสรรพสินค้า ซุปเปอร์มาร์เก็ต และร้านสะดวกซื้อ ต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม 2563 เป็นต้นไป เพ่ือเป็นนโยบายความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และเอกชนในการดำเนินงานเพื่อลด และเลิกใช้พลาสติก แบบใช้คร้ังเดียว (Single Use Plastic) ท่ีก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นมาตรการภายใต้ Roadmap การจัดการขยะพลาสติก พ.ศ. 2561–2573 (กรมควบคุมมลพิษ, 2563) 4.2 นยิ ามศัพทท์ ่เี กีย่ วขอ้ งกบั มลพษิ ส่ิงแวดลอ้ ม ส่ิงแวดล้อม หมายความว่า สิ่งต่าง ๆ ท่ีมีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพท่ีอยู่ รอบตัวมนุษย์ ซึ่งเกิดข้ึนโดยธรรมชาติและส่ิงท่ีมนุษย์ได้ทำขึ้น (พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ ส่ิงแวดล้อม, พ.ศ. 2535) คุณภาพสิ่งแวดล้อม หมายความว่า ดุลยภาพของธรรมชาติ อันได้แก่ สัตว์ พืช และ ทรัพยากรธรรมชาตติ ่าง ๆ และส่งิ ทม่ี นุษย์ได้ทำขึ้น ท้งั นี้ เพือ่ ประโยชนต์ ่อการดำรงชีพของ ประชาชน และความสมบูรณ์สืบไปของมนุษยชาติ (พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม, พ.ศ. 2535) มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม หมายความว่า ค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำ อากาศ เสียง และ สภาวะอ่ืน ๆ ของส่ิงแวดล้อม ซึ่งกำหนดเป็นเกณฑ์ท่ัวไปสำหรับการส่งเสริมและรักษา คุณภาพ สงิ่ แวดลอ้ ม (พระราชบญั ญัติส่งเสริมและรักษาคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม, พ.ศ. 2535) มลพิษ หมายความว่า ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่น ๆ รวมทั้งกาก ตะกอน หรือ สิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น ท่ีถูกปล่อยทิ้งจากแหล่งกำเนิดมลพิษ หรือที่มีอยู่ในส่ิงแวดล้อม ตาม ธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็นพิษ ภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้ และให้หมายความรวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง กล่ิน ความส่ันสะเทือน หรือเหตุรำคาญอื่น ๆ ท่ีเกิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งกำเนิดมลพิษด้วย (พระราชบญั ญัตสิ ่งเสรมิ และรักษาคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม, พ.ศ. 2535) ภาวะมลพิษ หมายความว่า สภาวะทีส่ ่งิ แวดล้อมเปล่ยี นแปลงหรอื ปนเปอ้ื นโดย มลพษิ ซึง่ ทำให้ คุณภาพของสิ่งแวดล้อมเส่ือมโทรมลง เช่น มลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ มลพิษในดิน (พระราชบญั ญตั สิ ่งเสริมและรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม, พ.ศ. 2535)

4-4 แหล่งกำเนิดมลพิษ หมายความว่า ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม อาคาร สิ่งก่อสร้าง ยานพาหนะ สถานท่ีประกอบกิจการใด ๆ หรอื สิ่งอ่ืนใด ซึง่ เป็นแหล่งท่ีมาของมลพิษ (พระราชบญั ญัติ สง่ เสริมและรกั ษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม, พ.ศ. 2535) สารมลพิษ/มลพิษ หมายถงึ สารใด ๆ ท่ีเมื่ออยใู่ นส่ิงแวดล้อมจะกอ่ ให้เกิดผลเสียต่อประโยชน์ การใช้สอยในทรัพยากรหรือต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ สัตว์ และระบบนิเวศ (พัฒนา มูลพฤกษ์, 2551) สารมลพิษ/มลพิษ หมายถึง สารปนเปื้อนท่ีก่อให้เกิดผลเสียในการเปลี่ยนคุณสมบัติทาง กายภาพ เคมี หรือชีวภาพของส่ิงแวดล้อม ในเทอมของสารอาหาร ตะกอน เชื้อโรค โลหะพิษ และ สารอนั ตรายอืน่ ๆ ท้ังหมด (พฒั นา มูลพฤกษ,์ 2551) ของเสีย หมายความว่า ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล น้ำเสีย อากาศเสีย มลสาร หรือ วัตถุอันตราย อ่ืนใด ซ่ึงถูกปล่อยท้ิงหรือมีท่ีมาจากแหล่งกำเนิดมลพิษ รวมทั้งกาก ตะกอน หรือสิ่ง ตกค้างจาก ส่ิงเหล่านั้น ท่ีอยู่ในสภาพของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ (พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิง่ แวดล้อม, พ.ศ. 2535) มูลฝอย หมายถึง เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ หรือซากสัตว์ รวมตลอดถึงส่ิงอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เล้ียงสัตว์ หรือที่อ่ืน (พระราชบัญญตั ิการสาธารณสขุ , พ.ศ. 2535) ส่ิงปฏิกูล หมายถึง อุจจาระหรือปัสสาวะ และหมายความรวมถึงสิ่งอื่นใดซึ่งเป็นส่ิงโสโครก หรือมกี ลิน่ เหมน็ (พระราชบัญญัติการสาธารณสขุ , พ.ศ. 2535) วัตถุอันตราย หมายความว่า วัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ และวัตถุ เปอร์ออกไซด์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุท่ีก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงทาง พันธุกรรม วัตถุ กัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง วัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์ หรือสิ่ง อ่ืนใดท่ีอาจ ทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือส่ิงแวดล้อม (พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิง่ แวดล้อม, พ.ศ. 2535) น้ำเสีย หมายความว่า ของเสียที่อยู่ในสภาพเป็นของเหลว รวมท้ังมลสารท่ีปะปน หรือ ปนเปื้อนอย่ใู นของเหลวนั้น (พระราชบัญญตั ิส่งเสรมิ และรักษาคุณภาพสงิ่ แวดล้อม, พ.ศ. 2535) อากาศเสีย หมายความว่า ของเสียท่ีอยู่ในสภาพเป็นไอเสีย กล่ินควัน ก๊าซ เขม่า ฝุ่นละออง เถ้าถ่าน หรือมลสารอื่นที่มีสภาพละเอียดบางเบาจนสามารถรวมตัวอยู่ในบรรยากาศได้ (พระราชบัญญตั ิสง่ เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม, พ.ศ. 2535)

4-5 4.3 ภาวะมลพษิ การเพ่ิมขึ้นของประชากรมีผลทำให้เกิดการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเป็นผล ทำให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพ่ิมข้ึน ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติหมดไปหรือลดน้อยลง ประกอบ กับในการดำเนินกิจกรรมของมนุษย์และในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เพื่อการดำรงชีพน้ัน ทำให้เกิดสารต่าง ๆ ปล่อยออกมาสู่สิ่งแวดล้อม ในสภาวะที่เป็นตัวกลางต่าง ๆ เช่น น้ำ อากาศ ดิน เป็นต้น ซึ่งหากไม่มีการจัดการที่ดี จะก่อให้เกิดภาวะมลพิษในตัวกลางส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ โดยความหมายของคำว่า ภาวะมลพิษ ในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2535 หมายถึง สภาวะท่ีสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงหรือปนเป้ือน โดยมลพิษ ซึ่งทำให้คุณภาพของ สิง่ แวดลอ้ มเสอ่ื มโทรมลง เช่น มลพษิ ทางนำ้ มลพษิ ทางอากาศ มลพษิ ในดนิ เป็นต้น ความสูญเสียของส่ิงแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและวิถีชีวิตของชุมชน เป็นความสูญเสีย ที่ยากจะหาเครื่องมือใดมาวัดให้เห็น นอกจากความสำนึก และความหยุดยั้งช่ังใจของผู้มีวิสัยทัศน์ท่ี ปราศจากความโลภ เม่ือใดที่สิ่งแวดล้อมถูกทำลาย หรือถูกทำใหเ้ กิดความเสียหายไปส่วนหน่ึงส่วนใด หรือหลายส่วน การจะทำให้กลับมาอยู่ในสภาพดีดังเดิมนั้นเป็นเรื่องยากมาก และแมจ้ ะทำใหเ้ กิดการ กลับคืนสู่สภาพเดิมโดยสมบูรณ์ได้ก็ย่อมจะต้องใช้เวลานานหลายปีหรือนานเป็นศตวรรษ และ อุปสรรคที่สำคัญขัดขวาง คือ เศรษฐกิจ จึงควรมีมาตรการในการป้องกันท่ีเหมาะสมเพื่อการรักษา ระบบนิเวศไว้ เมื่อใดก็ตามท่ีมีการพัฒนาเศรษฐกิจระดับชาติ ประชาชนส่วนใหญ่ควรที่จะต้อง ตระหนักถึงการไม่ก่อให้เกิดมลพิษส่ิงแวดล้อมเป็นการรักษาสิ่งแวดล้อมธรรมชาติไว้ ประชาชน ต้องการความรม่ เยน็ เป็นสุขต้องการสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตชีวา การอนุรักษ์สิง่ แวดลอ้ มธรรมชาติเปน็ การ อนุรักษ์ระบบนเิ วศ ปกปอ้ งสิง่ มีชวี ิตท้งั พืชและสัตวร์ วมถึงสัตว์ป่า และอนรุ กั ษ์ทศั นียภาพธรรมชาติ มนุษย์เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาที่ย่ังยืน รวมทั้งเป็นผู้ท่ีทำให้เกิดการมีชีวิตท่ีมีสุขภาพและ ก่อใหเ้ กดิ ผลดี มคี วามกลมกลืนตอ่ ธรรมชาติ ระดับของการวัดมลพิษ อาจจะมีหลายระดับ อาจจะต้องวัดเป็นปริมาณเพ่ือเป็นดัชนีในการ เลือกที่ใกลเ้ คียงกับวัตถุประสงค์ เชน่ คุณภาพอากาศถือเป็นปัจจยั นำเข้า (Input) ท่ีสำคัญต่อสุขภาพ คุณภาพน้ำถือเป็นปัจจัยนำเข้าต่อกิจกรรมการเกษตร การประมง หรือสุขภาพ (การอุปโภคบริโภค) คณุ ภาพของดินถือเป็นปัจจัยนำเข้าท่ีมีผลต่อการผลิตทางการเกษตร เช่น กรณีของการเสื่อมคุณภาพ ของที่ดนิ น้ัน ดัชนีท่ีใช้วัด คือ ผลผลิตท่ีได้รับ (Achievable Yield) นบั เป็นดัชนีท่ีมีประโยชน์มากกว่า การใช้ดชั นีทีเ่ ปน็ ความลึกของดิน

4-6 4.4 ประเภทของมลพิษสิ่งแวดล้อม ประเภทของมลพิษสิ่งแวดล้อมมีหลายประเภท แต่ในที่นี้ขอยกตัวอย่างมลพิษที่สำคัญ 3 ประเภทดงั นี้ 1. มลพิษทางอากาศ (1) อากาศและมลพิษทางอากาศ อากาศ (Air) หมายถึง ก๊าซผสมที่เกิดในบรรยากาศของโลก ซ่ึงมี ส่วนประกอบของอากาศแห้ง ณ ระดับน้ำทะเล มีส่วนประกอบ (ค่าเฉล่ีย) โดยมีปริมาตรของ ไนโตรเจน ร้อยละ 78.09 ออกซิเจน ร้อยละ 20.95 อาร์กอน ร้อยละ 0.93 และคาร์บอนไดออกไซด์ ร้อยละ 0.03 นอกจากนั้นยังประกอบด้วยก๊าซอื่น ๆ อีกในปริมาณเล็กน้อย ปริมาณไอน้ำใน บรรยากาศมีค่าไม่คงที่ข้ึนอยู่กับสภาวะอากาศ การจะถือว่าอากาศบริสุทธ์ิก็ต่อเม่ือไม่มีสารอ่ืน ๆ ในบรรยากาศมากพอท่ีจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ หรือสัตว์ ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม อน่ื ๆ ความต้องการอากาศของมนุษย์ในด้านสุขภาพ มนุษย์มีความต้องการ อากาศบริสุทธิ์เพื่อใช้ในการหายใจ แต่ในช้ันบรรยากาศอาจจะมีจำนวนก๊าซท่ีมีความเข้มข้นมากกว่า ปกติ อาจจะส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์และพืช เช่น โอโซน ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไนโตรเจน ไดออกไซด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ และสารอินทรีย์ระเหยง่าย บางชนิดทำให้เกิดมะเร็ง เช่น เบนซิน บวิ ตาดนี ทั้งหมดถอื เป็นก๊าซทมี่ ีความเป็นพษิ จัดเปน็ สารมลพษิ ทางอากาศ มลพิษทางอากาศเป็นปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมท่ีสำคัญ ส่งผลกระทบต่อ สุขภาพและส่ิงแวดล้อมต่อประเทศพัฒนาแล้ว และกำลังพัฒนาท่ัวโลก มีการเพ่ิมอนุภาคและก๊าซท่ี ก่อให้เกิดอันตรายปล่อยท้ิงสู่บรรยากาศในส่วนของโลก เป็นผลให้เกิดการทำลายสุขภาพอนามัยของ มนุษยแ์ ละทำลายสิ่งแวดลอ้ ม (2) สารมลพิษทางอากาศ สารมลพิษอากาศ หมายถึง ควัน ก๊าซ และกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ ซึ่งมีผล ต่อสุขภาพของมนุษย์และส่งผลเสียต่อระบบนิเวศ แบ่งออกเป็น อนุภาคมลสาร (Particulate Matters) ก๊าซ (Gaseous) และกล่นิ โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี (2.1) อนุภาคสารแขวนลอย (Suspended Particulate Matter; SPM) หมายถึง สารท่ีมีขนาดเล็กเส้นผ่าศูนย์กลางอนุภาคประมาณ 0.1-1 ไมครอน ถูกปล่อยทิ้งมาจาก อตุ สาหกรรมและการประกอบธรุ กิจ ด้วยการสันดาปเชอ้ื เพลิงฟอสซลิ หรอื รบกวนการอื่น ซึ่งจะดูดซึม พลังงานความร้อนแสงอาทิตย์ (Solar Heat) และความร้อนจากการแผ่รังสี และขนาดอนุภาคน้ีมี ผลกระทบตอ่ การมองเหน็ อนุภาคสารแขวนลอยที่อยใู่ นอากาศ ได้แก่

4-7 - อนุภาคสารแขวนลอยทั้งหมด/ฝุ่นรวม (Total Suspended Particles, TSP) - PM10 /ฝุ่นละอองขนาดเล็ก 10 ไมครอน คือ อนุภาคสาร แขวนลอย (SPM) ทม่ี ขี นาดเล็กกว่า 10 ไมครอน - PM2.5 หมายถึง SPM ท่ีมีขนาดเส้น ผ่าศูนย์กลางเล็กว่า 2.5 ไมครอน อนุภาคละเอยี ดและละเอียดมาก - ไอเสียจากดีเซล ข้ีเถ้าลอยถ่านหิน ฝุ่นแร่ เช่น ถ่านหิน หินปูน แอสเบสตอส ซีเมนต์ - ฝุ่นและควันโลหะ เช่น สังกะสี ทองแดง เหล็ก ตะกั่ว ไอกรด เป็นต้น เหล่านี้ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจ อาจทำให้เกิดมะเร็ง เกิดการกัดกร่อน การบดบัง แสงสวา่ ง เชน่ การกระจายของแสงจากหมอกผสมควนั (2.2) ก๊าซมลพิษ (Gaseous Pollutants) ก๊าซพิษมักเกิดจากการสันดาป เชื้อเพลิง หรืออาจเป็นผลพลอยได้จากปฏิกิริยาเคมี ได้แก่ ออกไซด์ของไนโตรเจน ออกไซด์ของ ซัลเฟอร์ โอโซน คาร์บอนมอนอกไซด์ ฯลฯ โอโซนในชั้นสตาร์โตสเฟียร์จัดว่าเป็นก๊าซมลพิษ สารมลพิษอากาศท้ังหมด สามารถเข้าสู่อวัยวะของร่างกายได้ด้วยการหายใจเข้าสู่ระบบทางเดิน หายใจและทำใหเ้ กดิ โรคระบบทางเดนิ หายใจในปอด หรอื คอ (2.3) ก ล่ิ น เกิ ด จ า ก ส า ร เค มี บ า ง ช นิ ด ที่ มี ค ว า ม เฉ พ า ะ เช่ น ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (Hydrogen Sulphide, H2S) คาร์บอนไดซัลไซด์ (Carbon Disulphide, CS2) เมอแคปแทน (Mercaptans) (3) แหลง่ กำเนดิ มลพิษทางอากาศ การแบ่งแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ สามารถแบ่งได้หลายวิธี เช่น แบ่งตามลักษณะของการเคลื่อนไหวของแหล่งกำเนดิ ได้ 2 ประเภท ได้แก่ (3.1) แหล่งท่ีไม่เคลื่อนที่ (Stationary Source) ได้แก่ แหล่งชนบท เช่น การเกษตร การทำเหมืองแร่ แหล่งอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมการผลิตสารเคมี อุตสาหกรรม ผลติ ภณั ฑ์โลหะและไม่ใช่โลหะ แหล่งชุมชน เช่น เตาเผาขยะ การทำความสะอาด การทำความร้อนใน อาคาร/บ้านเรือน เปน็ ตน้ (3.2) แหล่งทเี่ คล่ือนที่ (Mobile Source) ส่วนใหญ่เป็นพวกยานพาหนะท่ี มีการใชเ้ คร่อื งยนตใ์ นการสนั ดาปเช้อื เพลงิ เช่น การเผาไหม้เชือ้ เพลงิ ในรถยนต์ เรอื เครื่องบิน ฯลฯ นอกจากน้ี อาจแบ่งกลุ่มตามป ระเภ ทของแหล่งกำเนิด ได้แก่ การคมนาคมขนส่ง โรงงานอุตสาหกรรม ขบวนการผลิตที่ทำให้เกิดฝุ่น กิจกรรมการเกษตร การระเหยของก๊าซ หรืออ่ืน ๆ เช่น การบำบัดและกำจัดมูลฝอย หรืออาจแบ่งตามตัวการท่ีกระทำให้

4-8 เกิดสารมลพิษทางอากาศอย่างกว้าง ๆ ได้เป็น 2 แหล่ง คือ 1. แหล่งที่มนุษย์สร้าง และ 2. แหล่งที่ เกดิ โดยธรรมชาติ (4) ผลกระทบของมลพษิ ทางอากาศ (4.1) การบดบังแสงสว่าง (Visibility Reduction) สารมลพิษหรือสาร ปนเป้ือนซ่ึงเป็นพวกแอโรซอลในรูปของ หมอก ควัน หมอกผสมควัน หรือไอควัน ฝุ่น ก๊าซ ไฮโดรคาร์บอนและไนโตรเจนไดออกไซด์ เป็นตัวการที่ทำให้เกิดหมอกผสมควัน (Smog) ในปฏิกริ ิยาโฟโตเคมิคัล และไนโตรเจนไดออกไซด์นั้น ตัวของมันเองสามารถบดบังแสงได้ เน่ืองจากมี สีและมีคุณสมบัติดูดซับแสงได้ดี ทำให้เกิดปัญหาในการบดบังแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ท่ีส่องมายัง พื้นผวิ โลก ส่งผลต่อการคมนาคม และทัศนียภาพไมส่ วยงาม (4.2) การทำลายวัสดุส่ิงของ (Material Damage) สารมลพิษในอากาศ อาจทำให้เกิดการทำลายส่ิงของหรือส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ ได้แก่ การทำความเสียหายแก่โลหะ เช่น ไนโตรเจนไดออกไซด์ ทำให้ลวดสปริงเสียรูปทรง หรือซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่มคี วามช้ืนมากกว่าร้อยละ 80 กัดกร่อนวัสดุที่ทำด้วยเหล็ก สังกะสี ทองแดง นอกจากน้ี ยังทำลายวัสดุส่ิงก่อสร้าง ทำลายสีทา พ้นื ผวิ ต่าง ๆ ทำลายระบบนิเวศ เปน็ ต้น (4.3) ทำลายพืช (Agriculture Damage) สารมลพิษบางชนิดทำลายส่วน ต่าง ๆ ของพืช ได้แก่ ใบ ลำต้น ดอก เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ทำให้เกิดพิษเร้ือรังต่อพืช ด้วยการ เปล่ียนสีของเนื้อเยื่อใบของพืชจนค่อยๆ กลายเป็นสีเหลืองหรือเกิดคลอโรซิส เป็นการสูญเสีย คลอโรฟลิ ล์หรือหยุดสรา้ งคลอโรฟิลล์ ทำให้ตน้ ไม้ไม่เจรญิ เติบโต (4.4) เกิดผลเสียต่อสุขภาพร่างกายมนุษย์และสัตว์เล้ียง (Physiological Effects on Man and Domestic Animals) สารมลพิษก่อให้เกิดปัญหาแก่สุขภาพทั้งทางตรงและ ทางออ้ ม ท้ังแสดงอาการเรื้อรังและเฉียบพลนั ทงั้ น้ีข้ึนอยู่กบั ชนิดและปรมิ าณของสารมลพิษที่ร่างกาย ได้รับ รวมถึงระยะเวลาที่ร่างกายสัมผัสหรือรับสารมลพิษเข้าสู่ร่างกาย ผลเสียของสารมลพิษต่อ สุขภาพส่วนใหญ่เก่ียวข้องกับระบบทางเดินหายใจ และผิวหนัง เช่นเย่ือบุจมูก เยื่อบุตา เช่น ไฮโดรคาร์บอนจะทำปฏิกิริยาโฟโตเคมิคัล กลายเป็นหมอกผสมควัน ซึ่งประกอบด้วยโอโซนและ ออกซิแดนท์ต่าง ๆ ทำให้เกิดความระคายเคืองตา คาร์บอนมอนอกไซด์เป็นพิษต่อมนุษย์และสัตว์ ทำใหม้ ีอาการต้งั แตเ่ ลก็ น้อยจนถึงเสยี ชีวิต เป็นตน้ (4.5) เกิดผลต่อสุขภาพจิตใจ (Phycological Effects) สารมลพิษมีผล ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพทางด้านจิตใจ มันเป็นพวกที่มีสี มีกล่ิน และสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เพราะการปรากฏทางด้านกายภาพ ย่อมมีผลต่อความรู้สึกของคนท่ีจะต้องสัมผัสกับสารดังกล่าวอยู่ ตลอดเวลาหรือตลอดระยะเวลานาน ๆ เช่น บริเวณบ้านพักอาศัย โรงเรียน สถานประกอบการต่าง ๆ ความรู้สึกในด้านจิตใจอาจค่อยเป็นค่อยไปสะสมความรู้สึกดังกล่าวไว้เป็นระยะเวลานาน ๆ

4-9 จนก่อให้เกิดปัญหาทางด้านจิตใจ สารมลพิษที่มีสี ได้แก่ ไนโตรเจนไดออกไซด์ สารมลพิษท่ีมีกลิ่น ได้แก่ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ เมอแคปแทน ซัลไฟต์อื่น ๆ สารมลพิษท่ีมองเห็นด้วยตาเปล่า เช่น แอโรซอลต่าง ๆ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เปน็ ตน้ (พฒั นา มูลพฤกษ์, 2551) 2. มลพษิ ทางน้ำ (1) นำ้ และมลพิษทางน้ำ น้ำ เป็นสารท่ีมีความสำคัญต่อชีวิต และเป็นความต้องการพื้นฐานของ มนุษย์ พ้ืนผิวโลกมีน้ำปกคลุมมากกว่าร้อยละ 80 ของพ้ืนที่ผิวโลกท้ังหมด โดยเป็นน้ำจืดที่สามารถ นำมาผลิตเป็นน้ำด่ืมได้น้อยกว่าร้อยละ 1 นอกจากนี้ น้ำเป็นส่วนประกอบสำคัญของร่างกายมนุษย์ ซึ่งมีน้ำอยู่ถึง 2 ใน 3 ของร่างกายมนุษย์ มนุษย์สามารถมีชีวิตอยู่ได้โดยไม่กินอาหารนานเป็นเวลา หลายสัปดาห์ แตห่ ากขาดน้ำจะทำให้เสยี ชีวติ ภายใน 2-3 วนั วัฏจักรของน้ำเกิดข้ึนจากการระเหยของน้ำจากผิวของแหล่งน้ำกลายเป็น ไอน้ำสู่บรรยากาศ การคายน้ำจากนำ้ ใตด้ ินผ่านทางใบพชื ส่อู ากาศ ในนำ้ ในอากาศจะกลั่นตัวเน่อื งจาก อุณหภูมิลดลงกลายเป็นเมฆและเมฆจะเกิดการกลั่นตัวเป็นน้ำฝนตกลงสู่พ้ืนดิน น้ำฝนอาจจะชะล้าง คาร์บอนไดออกไซด์ท่ีมีอยู่ในอากาศตามปกติอยแู่ ล้วทำให้กลายเป็นกรดคาร์บอนิค (Carbonic Acid) และกิจกรรมต่าง ๆ จากมนุษ ย์ก่อให้ เกิดมลพิษ ทางอากาศซึ่งมักเกิดจากการสันดาป ทำให้เกิดฝนกรด (Acid Rain) ได้แก่ กา๊ ซกรดต่าง ๆ เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur Dioxide: SO2) คาร์บอนมอนอกไซด์rain (Carbon Monoxide: CO) ไนโตรเจนออกไซด์ (Nitrogen Oxide: NOx) ถูกปล่อยออกสู่อากาศรอบ ๆ แล้วถูกน้ำฝนชะล้างสารมลพิษและก๊าซกรดในอากาศ ทำให้เกิดมลพิษ ทางน้ำต่อไป น้ำฝนที่มีฤทธิ์ค่อนข้างเป็นกรดจะไหลผ่านบนพ้ืนดินและไหลซึมลงดินจะทำการละลาย สารต่าง ๆ ทส่ี ามารถชะลา้ งได้ สารต่าง ๆ ทถี่ ูกชะลา้ งจะไหลผ่านน้ำ ซ่งึ ปรมิ าณของสารจะมีมากหรือ น้อยข้ึนกับชนิดของสารและลักษณะสมบัติของน้ำ เช่น เมื่อน้ำไหลผ่านหินปูน (CaCO3) และ หินโดโลไมท์ (Ca/MgCO3) ทำให้เกิดสารละลายที่มีไอออนของแคลเซียม (Calcium) และแมกนีเซียม (Magnesium) ทำให้เกิดความกระด้าง รวมถึงคาร์บอเนต (Carbonate) และไบคาร์บอเนต (Bicarbonate) เรยี กวา่ เกิดความเป็นด่าง ซึ่งสารเหล่าน้ีเป็นไอออนท่ีมีอยู่ในน้ำมากท่ีสุด นอกจากน้ี น้ำอาจจะละลายธาตุอื่น ๆ และสารอินทรีย์ท่ีอยู่ในดินและ หากน้ำมีความเป็นกรดมาก ก็สามารถจะ ชะล้างเอาธาตุอาหารปนไปด้วย ซึ่งอาจทำให้เกิดมลพิษในแหล่งน้ำได้ เมื่อน้ำไหลผ่านดินจะถูกกรอง ผา่ นดนิ อาจจะเปน็ น้ำใต้ดินทม่ี คี วามบริสุทธิ์ได้ เมอ่ื เกดิ การไหลไปลึกมากกว่า 10 เมตร มลพิษทางน้ำ หมายถึง การที่มีการปล่อยสารมลพิษลงสู่แหล่งน้ำ ธรรมชาติ ทำให้เกิดการละลายหรือแขวนลอยในน้ำหรือถูกสะสมท่ีก้นแหล่งน้ำจนทำให้เกิดการ รบกวนระบบนิเวศ รวมถึงการปลอ่ ยพลังงานจากกัมมันตรังสีหรือความรอ้ น โดยแหล่งน้ำแต่ละแหล่ง จะมีความสามารถในการดูดซึม การย่อยสลายหรือหมุนเวียนแตกต่างกัน สารอนินทรีย์มักจะกระจาย

4-10 และมักไม่มีผลกระทบต่อแหล่งน้ำมากนัก ส่วนสารอินทรีย์จะถูกย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์/จุลชีพ (Microorganisms) และถูกเปลี่ยนไปอยู่ในรูปท่ีมีประโยชน์ต่อส่ิงมีชีวิตในน้ำ (Aquatic Life) แต่หาก เม่ือใดท่ีความสามารถของแหล่งน้ำในการละลาย กระจาย หรือ การหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่อีกนั้น มากเกนิ ไปแลว้ สารหรอื พลงั งานท่ีถูกเตมิ ลงไปจะไปทำให้กลายเป็นสารมลพิษ เชน่ มลพิษความรอ้ นที่ เกิดจากการปล่อยน้ำหล่อเย็นที่มีอุณหภูมิสูงของโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ หรืออุตสาหกรรมการ ผลิตที่ใช้ฟอสซิลเป็นเช้ือเพลิง อาจจะมีผลเสียต่อส่ิงมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้ำ เน่ืองจากน้ำในแหล่งน้ำ ตามปกติน้ันมีอุณหภูมิไม่สูง การปล่อยน้ำท่ีมีอุณหภูมิสูงลงไปอาจจะไม่เหมาะสมนัก สำหรับแหล่ง อุตสาหกรรมที่อยู่ตามทางที่มีการไหลของน้ำ อาจจะมีการปล่อยสารเคมีจำนวนมากลงสู่แหล่งน้ำ บางครั้งหากมีปริมาณมากเกินพอจะส่งผลให้น้ำในแหล่งน้ำเป็นพิษได้ นอกจากน้ี เมืองใหญ่ก็อาจทำ ให้เกิดน้ำเสียข้ึนได้ ซึ่งเกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชนในเขตเมือง รวมไปถึงน้ำเสียที่เกิดจาก ภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรม ทำให้น้ำถูกปนเปื้อนด้วยสารเคมี สารพิษ สารอินทรยี ์ที่ทำให้ เกิดความเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น การที่มีสารอินทรีย์มากเกินไป ทำให้ความสามารถ ของจุลินทรีย์ในน้ำท่ีจะย่อยสลายสารอินทรีย์จะเพ่ิมมากข้ึน ทำให้ปริมาณของจุลินทรีย์มีมากเกิน สมดุลของระบบนิเวศ การมีธาตุอาหารในน้ำช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของสาหร่ายให้เกิดข้ึนอย่าง รวดเร็ว ส่งผลให้สาหร่ายเบ่งบาน (Algae Bloom) เม่ือสาหร่ายมีปริมาณมากเกินไป เป็นสาเหตุให้ สาหร่ายบางสว่ นทจ่ี มอยใู่ ต้ผวิ น้ำไม่สามารถรับแสงแดดเพ่ือใชใ้ นการสงั เคราะห์แสงได้ จึงทำใหต้ ายลง ซ่ึงเท่ากับเป็นการเพิ่มปริมาณสารอินทรีย์ในน้ำและทำให้เกิดการขาดออกซิเจน จุลินทรีย์ในสภาวะ แอนแอโรบิก (ไม่ต้องการใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพ) จะใช้ของเสียอินทรีย์น้ัน แล้วมีการปล่อยก๊าซ เช่น มีเทน (Methane: CH4) และไฮโดรเจนซัลไฟต์ (Hydrogen Sulfide: SO4) ทำให้เกิดกลิ่นเหม็น ของไฮโดรเจนซัลไฟต์และอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและทำให้เกิดเป็นปัญหามลพิษทางน้ำได้ (พัฒนา มลู พฤกษ,์ 2551) (2) สารมลพิษทางน้ำ สารมลพิษ (Pollutants)/ส่ิงปนเปื้อนในน้ำเสีย (Impurity) เป็นสารที่ กอ่ ให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม อาจส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม สารมลพิษ/ ส่งิ ปนเปอ้ื นในน้ำที่ก่อให้เกิดมลพิษในแหลง่ น้ำมีหลายชนิด ไดแ้ ก่ (2.1) ความเป็นกรด-ด่าง มีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของส่ิงมีชีวิตในน้ำ และการนำน้ำมาใช้ประโยชน์ โดยปกติการวัดค่าความเป็นกรด-ด่างของแหล่งน้ำ มักจะวัดในรูปของ ค่าพีเอช (pH) ซ่ึงเป็นค่าท่ีแสดงถึงความเข้มข้นของอนุภาคไฮโดนเจน (-log[H+]) ในน้ำ โดยค่าพีเอช มีค่าอยู่ในช่วง 0-14 ถ้าค่าพีเอชสูงกว่า 7 แสดงว่ามีสภาพเป็นด่าง ถ้าค่าพีเอชต่ำกว่า 7 แสดงว่ามี สภาพเป็นกรด โดยแหลง่ นำ้ ตามธรรมชาตมิ ีค่าพเี อชประมาณ 7

4-11 (2.2) สีและความขุ่น เป็นส่ิงท่ีกั้นการส่องผ่านของแสงแดดไม่ให้ส่องลงถึง ใต้น้ำ ซึ่งส่งผลต่อการสังเคราะห์แสงของพืชน้ำและทำให้เกิดความน่ารังเกียจกับแหล่งน้ำท่ีรองรับ นำ้ เสียนั้น (2.3) สารแขวนลอย เป็นส่งิ สกปรกในน้ำเสียที่ไม่ละลายน้ำและแขวนลอย อยู่ในน้ำ เช่น เยื่อกระดาษ ตะกอนดิน ตะกอนแป้ง และสาหร่าย (Algae) เป็นต้น ซ่ึงกนั้ การส่องผ่าน ของแสงแดดไมใ่ หส้ ่องลงถงึ ใต้นำ้ (2.4) สารอินทรีย์ สารอินทรีย์ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน เป็นสารท่ีสามารถย่อยสลายได้โดยจุลินทรีย์ จึงเป็นสาเหตุทำให้ระดับออกซิเจนละลาย (Dissolve Oxygen: DO) ของแหล่งน้ำลดลงจนเกิดสภาพเน่าเสีย ซึ่งสามารถวัดปริมาณปริมาณได้ในรูปบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand: BOD) (2.5) สารอนินทรีย์ สารอนินทรีย์ ได้แก่ กรด-ด่าง เกลือ หรือโละหนัก ไม่ทำให้น้ำเน่าเสีย แต่ทำให้น้ำปนเปื้อนและเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตหรืออาจเป็นอุปสรรคต่อการนำมาใช้ ในการอุปโภคบรโิ ภค (2.6) ธาตุอาหาร ธาตุอาหาร ได้แก่ ไนโตรเจน (Nitrogen) และ ฟอสฟอรัส (Phosphorus) ทำให้พืชน้ำและสาหร่ายเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว (Algae bloom) ซึ่ง ส่งผลให้ในเวลากลางวันสาหรา่ ยจะสังเคราะห์แสงและเพ่ิมปริมาณออกซิเจนละลายในแหลง่ น้ำ แตใ่ น เวลากลางคืนสาหร่ายใช้ออกซิเจนละลายในการหายใจ ทำให้ออกซิเจนละลายในแหล่งนำ้ ลดลงเหลือ ศูนย์ เกิดผลกระทบทำให้สัตว์น้ำและพืชน้ำขาดออกซิเจนและตายในท่ีสุด ส่วนสาหร่ายที่ตายจะเน่า เป่อื ยและทับถมท่ีก้นของแหลง่ นำ้ เกดิ การย่อยสลายแบบไม่ใช้อากาศและแหล่งน้ำเน่าเสียในทสี่ ุด (2.7) กลิ่น กล่ินที่ไม่พึงประสงค์มีหลายชนิดและเกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น กลิ่นของฟีนอลจากอุตสาหกรรมผลิตสารอินทรีย์สังเคราะห์และการผลิตก๊าซจากถ่านหิน กลิ่น ก๊าซไข่เน่าและเมอร์แคบแทน (Mercaptan) จากการย่อยสลายแบบไม่ใช้อากาศ กลิ่นของเอมีน (Amines) จากการผลติ ปุ๋ยจากกากน้ำตาลและการผลติ เยอ่ื กระดาษจากชานอ้อย (2.8) นำ้ มันและไขมัน น้ำมันและไขมัน ไดแ้ ก่ น้ำมันจากพชื และสัตว์ หรือ น้ำมันแร่ โดยน้ำมันจากพืชและสัตว์พบได้ในน้ำเสียอุตสาหกรรมแปรรูปประเภทอาหาร น้ำมันแรพ่ บ ได้จากน้ำเสียจากการขุดเจาะน้ำมัน โรงงานกล่ันน้ำมัน โรงงานผลิตเหล็กและเหล็กกล้า น้ำมันและ ไขมันเป็นอุปสรรคต่อการส่องผ่านของแสงลงสู่ลำน้ำ การสังเคราะห์แสงของพืชน้ำและกีดขวาง การกระจายออกซเิ จนลงสแู่ หล่งน้ำ (2.9) จุลินทรีย์ เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดมองเล็กมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น โดยจุลินทรยี ์ทีพ่ บในแหล่งนำ้ มที ง้ั ท่ีเป็นสาเหตุของโรค และจุลนิ ทรียท์ ่วั ไปทีไ่ มท่ ำให้เกดิ โรค

4-12 (2.10) วัตถุมีพิษชนิดสารอนินทรีย์ ประกอบด้วยสารประกอบของโลหะ ต่าง ๆ เช่น ปรอท ทองแดง แคดเมียม และตะก่ัว เป็นต้น และสารประกอบอโลหะหนักต่าง ๆ เช่น ไซยาไนด์และสารหนู เป็นต้น การท่ีมีโลหะปนเปื้อนในแหล่งน้ำทำให้เกิดการสะสมในห่วงโซ่อาหาร และสง่ ผลกระทบต่อสุขภาพอนามยั และส่ิงแวดล้อม (2.11) วัตถุมีพิษชนิดสารอินทรีย์ ปัจจุบันอุตสาหกรรมเคมีได้ผลิตสาร สงั เคราะห์หลายชนิดทีม่ ลี กั ษณะ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสารประกอบอินทรียท์ มี่ ีสว่ นประกอบของฟอสฟอรัส คลอรีน และปรอท เม่ือถูกระบายออกสู่สิ่งแวดล้อมจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ (กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2554) (3) แหลง่ กำเนดิ มลพษิ ทางน้ำ (3.1) ชุมชน ชุมชนเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่เกิดจากกิจกรรมประจำวัน ของประชาชนและการประกอบอาชีพ ได้แก่ บ้านพักอาศัย ภัตตาคาร ร้านค้า โรงแรม โรงเรียน ตลาด เป็นต้น น้ำเสียที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ได้แก่ การอุปโภคบริโภค การชำระล้างร่างกาย การซักล้าง และการประกอบอาหาร เป็นต้น น้ำเสียเหล่านี้มักปนเป้ือนสารอินทรีย์ แบคทีเรีย น้ำมัน และไขมัน (3.2) อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเป็นแหล่งน้ำเสียที่มีการปนเปื้อนส่ิง สกปรกที่แตกต่างกันข้ึนอยู่กับประเภทของอุตสาหกรรม วัตถุดิบท่ีใช้ และกระบวนการผลติ โดยปกติ น้ำเสียอุตสาหกรรมกระบวนการล้างวัตถุดิบ การล้างเครื่องมืออุปกรณ์ กระบวนการผลิต กระบวนการหล่อเย็น น้ำเสียจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น สำนักงาน อาคารที่พักอาศัย และโรงอาหาร เปน็ ต้น (3.3) การเกษตร น้ำเสียท่ีเกิดจากกิจกรรมการเกษตร ได้แก่ การ เพาะปลูกและการเล้ียงสัตว์ น้ำเสียจากการเกษตรมีสิ่งสกปรกที่เจือปนอยู่ในรูปของสารอินทรีย์ และ สารอนินทรีย์ ข้นึ อยู่กบั ลักษณะการใช้น้ำ การใช้ปยุ๋ และสารเคมตี ่าง ๆ หากเปน็ พื้นท่เี พาะปลกู จะพบ ธาตุอาหาร (สารจำพวกไนโตรเจนและฟอสฟอรสั ) ยาฆ่าแมลง และยาปราบศตั รพู ชื (4) ผลกระทบของมลพษิ ทางน้ำ (4.1) น้ำท่ีมีรสและกลิ่นท่ีเปล่ียนไปจะทำให้ผู้ใช้น้ำในการอุปโภคบริโภค เกดิ ความรังเกียจ (4.2) การปนเป้ือนของเชื้อโรค เช้ือโรคบางชนิดติดต่อได้ทางน้ำ เช่น จุลินทรีย์ โปรโตซัว และไวรัส ซ่ึงเป็นสาเหตุท่ีทำให้เกิดโรคอหิวาตกโรค ไข้รากสาด บิด ตับอักเสบ ไขสนั หลังอักเสบ มแี หล่งกำเนดิ มาจากนำ้ เสียจากบ่อเกรอะบอ่ ซึม หรอื ฟารม์ เลย้ี งสตั ว์ (4.3) ผลกระทบของวัตถมุ พี ิษในน้ำที่มีต่อห่วงโซ่อาหาร แม้ว่าวัตถุมีพษิ จะ มีปริมาณน้อยมาก แต่สามารถถ่ายทอดผ่านห่วงโซ่อาหารทำให้มีการสะสมอยู่ในส่ิงมีชีวิตตามระดับ

4-13 ข้ันของการกินกัน มนุษย์ซ่ึงเป็นผู้บริโภคที่อยู่ในตำแหน่งปลายสุดของห่วงโซ่อาหารจะได้รับสารพิษ มากท่ีสุด (4.4) ผลกระทบต่อแหล่งนำ้ ผิวดิน อันเกิดจากสี สารแขวนลอย และความ ขุ่น ทำให้สภาพทางกายภาพของแหล่งน้ำเสียไป เช่น โรงย้อมผ้าระบายน้ำเสีย ทำให้สีของน้ำ เปลย่ี นไป (4.5) ทำให้ปริมาณออกซเิ จนในน้ำลดลง โดยท่ัวไปปลาจะเร่ิมตาย เมื่อน้ำ มีปรมิ าณออกซิเจนละลายในนำ้ ตำ่ กวา่ 2 มลิ ลกิ รัม/ลติ ร (4.6) เกิดปรากฏการณ์ยูโทรฟิเคชัน (Eutrophication) ปรากฏการณ์ ยูโทรฟิเคชัน เป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นจากการระบายน้ำเสียที่มีสารประกอบไนโตรเจน และ ฟอสฟอรัสสู่แหล่งน้ำในปริมาณมาก ทำให้สาหร่ายเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วเพ่ิมจำนวนมากผิดปกติ (Algae Bloom) ซึ่งมีผลต่อระบบนิเวศทางน้ำ โดยปกติการสังเคราะห์แสงจะเกิดขึ้นในเวลากลางวัน แต่ในกลางคืนซ่ึงไม่มีแสงอาทิตย์ สาหร่ายและพืชสีเขียวจะเปล่ียนจากการสังเคราะห์แสงซึ่งผลิต ออกซิเจนมาเป็นการหายใจ (Respiration) ซ่ึงต้องการออกซิเจนและคายคาร์บอนไดออกไซด์ สบู่ รรยากาศต่อไป ดังน้ันในช่วงเวลากลางวัน แหล่งน้ำท่ีเกิดปรากฏการณ์ยูโทรฟิเคชนั อาจมีปรมิ าณ ออกซเิ จนละลายสูงเกินกว่าขดี ความเข้มข้นสูงสุดได้ แต่ในทางตรงกนั ข้ามจะมีระดับออกซเิ จนละลาย ลดลงในเวลากลางคืน ในบางกรณีการได้รับสารอินทรีย์และธาตุอาหารในปริมาณมาก ทำให้เกิด ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “กระแสน้ำแดง” (Red Tide) ในทะเล ซ่ึงเกิดจากการเจริญเติบโตท่ีผิดปกติ ของสาหร่ายเซลลเ์ ดียวบางชนดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ และทำใหน้ ำ้ เปลีย่ นสี (4.7) ทำให้เกิดปัญหาภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ซ่ึงเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีสำคัญ สาเหตุหลักท่ี กอ่ ให้เกิดภาวะโลกร้อน คือ กา๊ ซเรือนกระจก (Greenhouse Gases) โดยปกติก๊าซเรือนกระจกจะทำ หน้าที่เกบ็ กักความรอ้ นบางส่วนไวบ้ นโลก ทำให้โลกมีอุณหภูมทิ ี่เหมาะสม ไมห่ นาวจัดในตอนกลางคืน แต่จากการเพิ่มขนึ้ ของกา๊ ซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลให้ปริมาณกา๊ ซเรอื นกระจกมมี ากข้ึน และเพม่ิ การเก็บกกั ความร้อนไว้ในโลกมากขึ้นเรอ่ื ย ๆ จนเกดิ เป็นสภาวะโลกรอ้ น กระบวนการต่าง ๆ ทีก่ ่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก จะก่อใหเ้ กิดกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) และก๊าซมเี ทน (CH4) ซึ่งเป็น ก๊าซเรอื นกระจก ผลกระทบของมลพิษทางน้ำที่กอ่ ให้เกิดปัญหาโลกร้อน คอื เม่ือเกิดปัญหาน้ำเน่าเสีย จะพบว่าปริมาณออกซิเจนท่ีละลายน้ำลดต่ำลง ทำให้จุลินทรีย์ในแหล่งน้ำเปล่ียนจากชนิดที่ใช้ ออกซิเจน (Aerobic bacteria) ไปเป็นชนิดท่ีไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic bacteria) ซึ่งกระบวนการ ย่อยสลายแบบไม่ใช้อากาศจะก่อให้เกิดก๊าซมีเทน (CH4) ลอยตัวขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ ก่อให้เกิดปัญหา ภาวะโลกร้อนในทสี่ ดุ (กรมโรงงานอตุ สาหกรรม, 2554)

4-14 3. มลพษิ จากมลู ฝอย (3.1) มลู ฝอยและมลพิษจากมูลฝอย สถานการณ์ขยะมูลฝอยของประเทศไทย จากการประเมินปริมาณขยะ มูลฝอยท่ีเกิดขึ้นของประเทศไทย พบว่า ในปี พ.ศ. 2561 มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดข้ึนประมาณ 27.82 ล้านตัน เพ่ิมขึ้นร้อยละ 1.64 จากปี พ.ศ. 2560 ท่ีมีปริมาณ 27.37 ล้านตัน และอัตราการเกิด เกิดขยะมูลฝอยต่อคนประมาณ 1.15 กิโลกรัม/คน/วัน เพ่ิมข้ึนจากปี พ.ศ. 2560 ท่ีมีปริมาณ 1.13 กิโลกรัม/คน/วนั ท้ังน้ีเปน็ ขยะมูลฝอยในกรุงเทพมหานคร 4.85 ล้านตัน คิดเป็นรอ้ ยละ 17 ของ ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั้งหมด และในพื้นที่ 76 จังหวัด ประมาณ 23.10 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 83 รองลงมาเกดิ ในพืน้ ที่จังหวัดชลบรุ ีและพัทยา มีปริมาณ 2,591 ตัน/วัน จังหวดั นครราชสีมา มีปริมาณ 2,480 ตัน/วัน และจังหวัดสมุทรปราการ มีปริมาณ 2,499 ตัน/วัน ซึ่งมีปริมาณขยะมูลฝอยเพ่ิมมาก ข้ึนน้ี เนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของประชากร การบริโภคท่ีเพิ่มมากขึ้น การขยายตัวของชุมชนเมือง และการปรับเปล่ียนวิถีชีวิตจากสังคมเกษตรกรรมสู่สังคมเมืองในหลายพ้ืนท่ี รวมท้ังการส่งเสริมการ ทอ่ งเทยี่ วของประเทศไทย (กรมควบคุมมลพิษ, 2561) (3.2) แหล่งกำเนิดของมูลฝอย แหลง่ กำเนดิ ของมูลฝอย สามารถแบง่ ได้ 5 ประเภท ดงั นี้ 1. ที่พักอาศัย (Domestic Area) ได้แก่ มูลฝอยที่เกิดจากกิจวัตร ประจำวันในการดำรงชีวิตตามบ้านเรือนประชาชนทั่วไป ส่วนใหญ่มาจากห้องครัว เช่น เศษอาหาร ผัก ผลไม้ นอกจากนยี้ ังพบเศษกระดาษ พลาสตกิ ปะปนมาด้วย 2. เขตธุรกิจการค้า ตลาดสด (Commercial Area) ได้แก่ มูลฝอยท่ีเกิด จากกิจกรรมประเภทธุรกิจการค้าขายของชุมชน เช่น ย่านพาณิชยกรรม ตลาดสด สถานีรถไฟ สนามบินนานาชาติ ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น มูลฝอยส่วนใหญ่ ได้แก่ เศษสินค้าที่ไม่ต้องการ เช่น บรรจภุ ัณฑ์พลาสติก กระดาษ ส่วนมลู ฝอยจากตลาดสด มลู ฝอยทพี่ บจะเป็นสารอินทรีย์ เช่น เศษผัก ผลไม้ ท่ีเกดิ จากการค้าขายอาหารสด 3. สถานทร่ี าชการ สถาบันการศึกษา (Institutional Area) มูลฝอยที่เกิด จากกิจกรรมของทางราชการ การเรียนการสอน มูลฝอยส่วนใหญ่เป็นเศษกระดาษ พลาสติก อาจมี ของเสียอันตรายบ้าง ท่ีมาจากอาคารเรียนที่มกี ารเรียนการสอนดา้ นวิทยาศาสตร์ การแพทย์ หรอื การ เพาะเลยี้ งเชอ้ื หรอื สารเคมอี นั ตราย เชน่ โลหะหนัก สารรังสี เปน็ ต้น 4. เขตอุตสาหกรรม (Industrial area) ได้แก่ บริเวณ ที่มีโรงงาน อุตสาหกรรมต่าง ๆ ตั้งอยู่ และมีการผลิตมูลฝอยเกิดขึ้น ทั้งที่เกิดจากกระบวนการผลิตโดยตรงและ โดยอ้อม เช่น บรรจุภัณฑ์หรือของเสียจากการผลติ เอง องค์ประกอบของมูลฝอยแบ่งเป็นมลู ฝอยทัว่ ไป และมูลฝอยอันตราย โดยลักษณะมูลฝอยอันตรายขึ้นอยู่กับประเภทของอุตสาหกรรม มูลฝอยท่ีเป็น

4-15 อันตรายอาจมีประโยชนต์ อ่ กิจกรรมอนื่ เชน่ น้ำมันเก่าหรือเศษน้ำมนั เชอื้ เพลิง สารทำละลายทใ่ี ช้แล้ว สามารถนำไปปรับปรุงคุณภาพหรือผสมกับน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดอ่ืนได้ ส่วนมูลฝอยทั่วไปมีลักษณะ เหมอื นมลู ฝอยชมุ ชนท่วั ไป ทเ่ี กดิ จากกจิ กรรมประจำวันของคนงานหรือพนักงาน 5. เกษตรกรรม (Agriculture area) ได้แก่ บริเวณเกษตรกรรมที่มีการ เพาะปลกู หรือฟาร์มเลยี้ งสัตว์ มูลฝอยส่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์ ย่อยสลายได้และส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เช่น พวกเศษผัก เศษผลไม้ มูลฝอยหรอื ส่ิงปฏิกูลจากสัตว์เล้ียง นอกจากนี้ยังพบมูลฝอยอันตรายจาก การใช้สารเคมีและวัตถุมพี ษิ ตา่ ง ๆ (ธเรศ ศรีสถิตย์, 2558) (3.3) ชนิดของมูลฝอย การจำแนกชนิดของมูลฝอยสามารถจำแนกได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับว่าใช้ ปัจจัยใดเป็นเกณฑ์ในการจำแนก เช่น จำแนกตามลักษณะของมูลฝอยท่ีพบเห็นด้วยตา หรือ การสมั ผัสและความเปน็ พิษ สามารถแบ่งมลู ฝอยได้ 3 ประเภท คือ 1. มลู ฝอยทีเ่ น่าเปอื่ ยได้งา่ ย (Food waste or Garbage waste) 2. มลู ฝอยทเ่ี นา่ เปอื่ ยไดย้ าก (Rubbish) 3. มลู ฝอยอันตราย (Hazardous waste) บางครั้งแบ่งเป็นมูลฝอยแห้งและมูลฝอยเปียก หรือแบ่งเป็นมูลฝอยตาม แหล่งกำเนดิ จะสามารถแบง่ ได้ 3 ประเภท คือ 1. มูลฝอยจากแหล่งชมุ ชน 2. มลู ฝอยจากแหลง่ อุตสาหกรรม 3. มลู ฝอยจากอตุ สาหกรรม (ธเรศ ศรสี ถติ ย์, 2558) (3.4) องค์ประกอบของมลู ฝอย มูลฝอยแต่ละประเภทมีองค์ประกอบที่แตกต่างกัน สามารถจำแนกได้ ดังน้ี 1. มูลฝอยอินทรีย์ (Organic Waste) เป็นมูลฝอยท่ีย่อยสลายได้ด้วย กระบวนการทางชีวภาพโดยจุลินทรีย์ทั้งที่ใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน มูลฝอยประเภทน้ี เช่น เศษอาหาร เศษหญา้ เศษก่ิงไม้ ใบไม้ เปน็ ต้น 2. มูลฝอยที่สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ (Recycle Waste) เป็น มูลฝอยท่มี ศี ักยภาพในการนำกลบั มาใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ีก เชน่ แกว้ กระดาษ โลหะ อะลมู เิ นียม เป็นต้น 3. มูลฝอยท่ีไม่สามารถนำกลับมาใช้ประโยชนไ์ ด้ (Non-Recycle Waste) เป็นมูลฝอยที่ไม่สามารถการนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก เช่น เศษปูน เศษอิฐจากการก่อสร้าง จำเป็นต้องนำเขา้ สู่กระบวนการกำจัด หรอื ทำลายโดยการฝงั กลบ หรือเผา หรือวธิ ีอื่น ๆ ทเ่ี หมาะสม

4-16 4. มูลฝอยติดเชื้อ (Infectious Waste) เป็นมูลฝอยท่ีมีการปนเปื้อนของ เช้ือโรค ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ได้ เช่น เน้ือเย่ือหรือช้ินส่วนอวัยวะต่าง ๆ จาก สถานพยาบาล สำลี ผ้าพันแผล เข็มฉีดยา ฯลฯ มูลฝอยประเภทนี้ต้องนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี เช่น การเผาด้วยอณุ หภูมสิ ูง 5. มลู ฝอยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Waste) เป็นมลู ฝอยทเี่ ป็นชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ มูลฝอยเหล่าน้ีจะมีการปนเปื้อนของสารเคมีต่าง ๆ เช่น โลหะหนักชนิดต่าง ๆ ได้แก่ สารตะก่ัว (Pb) สารแคดเมียม (Cd) และสารปรอท (Hg) จำเป็นต้องมี การกำจัดขยะมูลฝอยประเภทน้ีอย่างถูกต้อง เพ่ือป้องกันการแพร่กระจายของสารโลหะหนักเข้าสู่ สงิ่ แวดลอ้ ม (3.5) ผลกระทบของมูลฝอย การทิ้งมูลฝอยออกสสู่ ิง่ แวดล้อมกอ่ ให้เกดิ ผลกระทบดงั นี้ 1. ผลกระทบต่อแหล่งน้ำ ได้แก่ ทำให้แหล่งน้ำเน่าเสีย และกลายเป็น แหล่งเพาะพันธ์ุเช้ือโรค ทำให้เกิดการสะสมของสารพิษที่ปะปนมากับมูลฝอย ทำให้รางน้ำและ ท่อระบายน้ำอุดตัน ทำให้ภูมิทัศน์ของแหล่งน้ำขาดความสวยงาม สร้างความเสียหายต่อธุรกิจการ ทอ่ งเท่ยี วและแหล่งนำ้ เสือ่ มโทรม 2. ผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ การเผามูลฝอยทำให้เกิดก๊าซเรือน กระจก เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง สภาพภูมิอากาศ และการยอ่ ยสลายของมูลฝอยในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน ทำให้เกิดก๊าซมีเทน ซึ่งเป็น ก๊าซเรือนกระจกเช่นกัน นอกจากน้ียงั ทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวนจากกองมูลฝอยท่ีเททิ้งไว้บนพ้ืนดิน หรือตกค้างจากการเก็บขนไม่หมด และการเผามูลฝอยทำให้เกิดการแพร่กระจายของสารมลพิษใน อากาศได้ 3. ผลกระทบต่อดิน เกิดการปนเป้ือนของน้ำชะมูลฝอยลงสู่ดิน ซึ่งอาจมี สารมลพิษต่าง ๆ จากกองมูลฝอยเจือปนไปด้วย ส่วนมูลฝอยท่ีเป็นของเสียอันตราย เช่น ถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซากหลอดไฟ ฯลฯ เม่ือนำไปฝังกลบจะทำให้มีโลหะหนักในดินมากขึ้น เป็นผลเสียต่อ ระบบนิเวศ ส่วนพื้นดินท่ีใช้เป็นสถานท่ีฝังกลับมูลฝอย ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ ได้ โดยเฉพาะทางดา้ นการเกษตร 4. ผลกระทบต่อน้ำใต้ดิน ทำให้เกิดการปนเปื้อนของน้ำชะมูลฝอยลงสู่ ใตด้ ิน และเกดิ การปนเปอ้ื นของโลหะหนกั ในน้ำใตด้ นิ ได้ 5. ผลกระทบต่อมนุษย์ กองมูลฝอยเป็นแหล่งสะสมของพาหนะนำโรค ต่าง ๆ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน เป็นต้น นอกจากน้ี กล่ินจากกองมูลฝอยก่อให้เกิดความรำคาญ น้ำชะมูลฝอย หากเข้าสรู่ า่ งกายและสะสมในระยะยาวจะกอ่ ให้เกดิ โรค

4-17 6. ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ทำให้ส้ินเปลืองงบประมาณในการจัดการ มูลฝอย สูญเสียงบประมาณในการฟื้นฟูส่ิงแวดล้อมในบริเวณที่มีการปนเป้ือนของสารเคมีจากการ กำจัดท่ไี ม่ถูกวธิ ี และยงั สญู เสียงบประมาณในการฟ้ืนฟูสขุ ภาพของประชาชน 7. ผลกระทบต่อสังคม ทำให้เกิดความขัดแย้งและการต่อต้านของ ประชาชนและชุมชน ในการก่อสร้างสถานท่ีกำจัดขยะ เนื่องจากเห็นว่าการก่อสร้างสถานที่กำจัด มูลฝอยหรือทพ่ี ักมูลฝอยรอการขนส่งจะสง่ ผลกระทบตอ่ คุณภาพชีวิตของตนเอง และเกิดความขัดแย้ง ในกรณีท้ิงมูลฝอยไมเ่ หมาะสม (ไพบูลย์ แจม่ พงษ์ และคณะ, 2560) 4.5 แนวทางการป้องกันมลพิษส่งิ แวดลอ้ ม การจัดการส่ิงแวดล้อมในอดีตนั้น จะใช้วิธีการแก้ไขด้วยวิธีการบำบัด/กำจัดที่ปลายทาง (End of Pipe) โดยการใช้หลักปรัชญาของการควบคุมมลพิษ (Pollution Control) แต่บางคร้ังมาตรการ ในการควบคุมมลพิษนั้นจะมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง และการตัดสินใจในการจัดการควบคุมมลพิษนั้น มักจะก่อให้เกิดความขัดแย้งในด้านการเมือง เป็นผลให้ประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะชุมชนท่ีมี ความยากจน องค์กรท่ีมีงบประมาณจำกัดมักจะโต้เถียงว่าการทำให้สิ่งแวดล้อมสะอาดขึ้นนั้น ถือเป็น การฟุ่มเฟือยท่ีมีการใช้เคร่ืองมือท่ีมีราคาแพง ก่อให้เกิดการละเลยที่จะทำให้สิ่งแวดล้อมดีข้ึนเพื่อให้ เกิดความประหยัด และแม้แต่งบประมาณค่าใช้จ่ายทำให้ค่าใช้จ่ายต่ำกว่าความจริง แนวคิดใหม่ สามารถท่ีจะสรุปได้ว่า การจัดการส่ิงแวดล้อมไม่เพียงแต่เฉพาะการควบคุมมลพิษเท่าน้ัน หรือการหา เทคโนโลยีใหม่ ๆ ในการควบคุมมลพิษเท่านั้น แต่ยังคงต้องหาวิธีการ/เทคโนโลยีใหม่ ๆ ในการที่จะ ลดหรือจำกัดโดยสิ้นเชิง ณ แหล่งกำเนิด เพื่อลดปริมาณการเกิดมลพิษที่ต้นทางและลดปริมาณการ กำจดั มลพิษทปี่ ลายทาง 4.5.1 การป้องกันและควบคุมมลพษิ ทางอากาศ การป้องกันและควบคุมมลพิษทางอากาศจำเป็นต้องดำเนินการทั้งในด้านกฎหมาย ดว้ ยการออกกฎหมายหรือขอ้ บังคับต่าง ๆ โดยอาศัยมาตรฐานหรือเกณฑ์ต่าง ๆ เพ่ือใช้ควบคุมไม่ให้มี การปล่อยสารปนเป้ือนออกจากแหล่งกำเนิดในปริมาณและความเขม้ ข้นของสารมากเกินไป หรือหาก จำเป็นจะต้องเกิดสารปนเปื้อนออกมาจะต้องดำเนินการควบคุมไม่ให้มีการปล่อยสารปนเป้ือนออกสู่ สิ่งแวดล้อมมากเกินไปจนอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยและทำความเสียหายต่อ สิง่ แวดล้อม การควบคุมและการป้องกันมลพิษทางอากาศที่จะเกิดผลสำเร็จในการควบคุมและ ป้องกัน คือ การควบคุมการปล่อยสารปนเปื้อนหรือการลดการผลิตสารปนเป้ือนจากแหล่งกำเนิด (Source Control) ให้น้อยท่ีสุดเท่าที่จะกระทำได้ และการควบคุมหรือกำจัดสารมลพิษท่ีปล่อยทิ้ง จากแหลง่ กำเนิด มาสู่บรรยากาศ (Emission Control)

4-18 มาตรการในการป้องกันมลพิษ ได้แก่ การจัดการ การเลือกใช้เชื้อเพลิง การทำความ สะอาดเชื้อเพลิง ส่วนการควบคุมการปล่อยท้ิงสารมลพิษทางอากาศน้ันมเี ทคนิคต่าง ๆ มากมาย ซ่งึ มี ความแตกต่างท้ังลักษณะทางกายภาพและเศรษฐศาสตร์ เช่น การบดหรือขูดถ่านหินในท่ีที่ปิดมิดชิด จะทำให้เกิดมลสารที่ถูกปลอ่ ยทง้ิ มาสบู่ รรยากาศน้อยลง มาตรการในการจัดการ มีต้ังแต่การออกแบบ การดำเนินการ การดแู ลรักษา และการปฏิบัตอิ ่นื ๆ น้ัน สามารถที่จะลดการปล่อยท้ิงได้ การปรบั ปรุง การสันดาปให้มีประสิทธิภาพ ส่วนประกอบของอนุภาคสารสามารถที่จะลดลง การทำให้เกิดการเติม เช้ือเพลิงที่เหมาะสม และแบบของบริเวณการสันดาปตามด้วยการให้มีอากาศมากเพียงพอ (พัฒนา มลู พฤกษ,์ 2551) 4.5.2 การปอ้ งกนั และควบคมุ มลพิษทางน้ำ การป้องกันและควบคุมมลพิษทางน้ำน้นั ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝา่ ย การเกิด มลพิษทางน้ำที่สำคัญ มักเกิดจากมนุษย์เป็นผู้กระทำ ด้วยการปล่อยของเสียหรือน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำ จึงต้องมีการเฝ้าติดตามตรวจสอบ (Monitoring) คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำต่าง ๆ ให้มีการกำหนด มาตรฐานเพื่อควบคุมคุณภาพน้ำท้ิงจากแหล่งกำเนิดมลพิษทางน้ำ และคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ ให้มี การบำบดั นำ้ เสยี กอ่ นทง้ิ ลงสู่แหล่งนำ้ ธรรมชาติ โดยมีรายละเอียดดังน้ี 1. การเฝ้าติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ เป็นการเฝ้าติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำใน แหล่งน้ำธรรมชาติ เพ่ือให้ทราบถึงสถานการณ์ว่าคุณภาพน้ำเป็นอย่างไร และเพ่ือหาแนวทางในการ ป้องกัน ควบคุมและแก้ไขเพื่อไม่ให้เกิดเป็นปัญหามลพิษทางน้ำ และยงั สามารถท่ีจะนำข้อมูลทไี่ ด้เพ่ือ ใช้ในการกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำของแหล่งน้ำตามการใช้ประโยชน์ ในการเฝ้าติดตามตรวจสอบ คุณภาพน้ำควรทำเป็นประจำและพารามิเตอร์ท่ีใช้ในการเฝ้าติดตามคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำน้ัน เพื่อไม่ให้เกิดภาวะมลพิษด้วยการคำนึงถึงการใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เช่น เพ่ือการด่ืม เพ่ือการเกษตร เพื่อการอุตสาหกรรม เพ่ือการคมนาคม เป็นต้น และต้องคำนึงถึงความปลอดภัยต่อ สุขภาพอนามยั ของมนุษย์ที่จะต้องใชน้ ้ำน้นั ในวตั ถปุ ระสงคต์ า่ ง ๆ 2. มาตรฐานคุณภาพน้ำ การกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำต้องคำนึงถึงมาตรฐานของ แหล่งน้ำ มาตรฐานน้ำทิ้ง และมาตรฐานน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค ซึ่งมาตรฐานท้ัง 3 ประการนี้ มีความเก่ียวพันกัน หากน้ำในแหล่งน้ำมีคุณภาพสะอาด ปลอดภัย แต่หากปล่อยให้มีการทิ้งน้ำเสีย ต่าง ๆ ลงในแหล่งน้ำ โดยไม่มีการควบคุม จะทำให้แหล่งน้ำนั้นสกปรก ก่อให้เกิดปัญหาต่อการ ปรบั ปรุงคุณภาพนำ้ ให้สะอาดตามมาตรฐานของนำ้ สะอาดเพ่ือการอปุ โภคบริโภคได้ 3. การบำบดั น้ำเสีย การบำบัดน้ำเสยี หมายถงึ การดำเนนิ การเปลยี่ นสภาพของน้ำเสีย ให้อยู่ในสภาพที่มีความเหมาะสมพอที่จะไม่ทำให้เกิดปัญหาต่อแหล่งรองรับน้ำเสียนั้น ๆ เช่น การเปลี่ยนสารอินทรีย์ท่ีอยู่ในรูปของสารละลายและคอลลอยด์เป็นก๊าซและนำ้ โดยสว่ นที่เป็นก๊าซจะ ลอยสู่บรรยากาศ ซ่ึงอาจจะทำให้เกิดมลพิษทางอากาศ การบำบัดน้ำเสียก่อนที่จะปล่อยออกสู่

4-19 สิ่งแวดล้อมจึงจำเป็นต้องกระทำให้เกิดประสิทธิภาพพอที่จะไม่ทำให้แหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคและ บริโภคต้องเกิดปัญหาภาวะมลพิษ จนอาจทำให้เกิดการขาดแคลนแหล่งน้ำสะอาดขึ้น (พัฒนา มูลพฤกษ,์ 2551) 4.5.3 การป้องกนั และควบคมุ มลู ฝอย การป้องกันและควบคุมมูลฝอย จะใช้แนวคิดของการจัดการมูลฝอยแบบบูรณาการ ซ่ึงเป็นแนวคิดท่ีเหมาะสมท่ีสุดในขณะน้ี การจัดการมูลฝอยแบบบูรณาการ หมายถึง การดำเนินการ จดั การฝอยที่เหมาะสมกับลักษณะสมบัติของมูลฝอยด้วยการคำนึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และพลังงาน รวมถึงการป้องกันรักษาสิ่งแวดล้อมให้มีคุณภาพที่ดีอย่างย่ังยืน โดยใช้หลักการ 3Rs ที่ประกอบด้วยแนวคิดการจัดการที่เร่ิมต้น ตั้งแต่การลดการเกิดมูลฝอย (Reduction) การคัดแยก (Separation) การใช้ซ้ำ (Reuse) การหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ในรูปแบบต่าง ๆ และ การกำจดั ท่ปี ลอดภยั (Disposal) โดยมรี ายละเอียดดังน้ี 1. การลดมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด (Source reduction) เป็นการลดมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิดของมูลฝอยไม่ว่าจะเป็นสถานที่ใด เช่น บ้านเรือน อาคารสำนักงาน ตลาด ร้านค้า เป็นต้น หลักการน้ี เป็นแนวคิดพ้ืนฐานตามหลักการไม่ก่อให้เกิดมูลฝอยและไม่มีมูลฝอยถูกทิ้งแก่ไปสู่ ส่งิ แวดล้อม แนวคิดนี้สามารถใช้ได้กบั กิจกรรมทางด้านอุตสาหกรรมได้เป็นอย่างดี เพราะหากโรงงาน อุตสาหกรรมผลิตของเสียหรือมูลฝอยจะเป็นปัญหาให้กับทางโรงงานท่ีต้องเสียค่าใช้จ่ายสำหรับการ จดั การมลู ฝอยและหากเกดิ มูลฝอยมากเทา่ ใดต้องเสียคา่ ใช้จา่ ยมากขึน้ เท่านัน้ 2. การคัดแยก (Separation) เป็นการแยกมลู ฝอยที่สามารถนำกลับมาใชใ้ หม่ได้ หรือมี คุณค่าที่จะเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิตได้ ทั้งน้ี การแยก ณ แหล่งกำเนิด สามารถดำเนินการได้ งา่ ยกว่าการคัดแยก ณ บรเิ วณสถานท่ีกำจัด ซ่ึงมคี วามหลากหลายของมูลฝอยมากเกินไป การคดั แยก มูลฝอยตามองค์ประกอบทางกายภาพเป็นการช่วยให้ง่ายต่อการเก็บขนและรวบรวม หรือแยกตาม วัสดุท่ีสามารถนำไปแปลงเป็นผลผลิตอ่ืนได้ เช่น การคัดแยกเศษอาหารเพ่ือนำไปทำปุ๋ยหมักเพ่ือการ เกษตรกรรมหรอื นำไปเลย้ี งสัตว์ หรอื การผลติ ก๊าซชวี ภาพจากสารอนิ ทรีย์ การคัดแยกมลู ฝอยอันตราย ออกจากมูลฝอยท่ัวไป ทำให้สามารถกำจัดมลู ฝอยทั่วไปได้อย่างปลอดภยั โดยปราศจากการปนเป้ือน จากมลู ฝอยอนั ตราย 3. การใช้ซ้ำ (Reuse) เป็นการนำสิ่งของบางส่วนที่ต้องท้ิงมาใช้ซ้ำเพื่อให้เกิดประโยชน์ เช่น ขวดแก้ว ขวดพลาสติก กล่องโลหะ โดยไม่ต้องไปหาซื้อใหม่ การใช้ซ้ำเป็นการนำกลับมาใช้ใหม่ โดยไม่ตอ้ งผ่านกระบวนการแปรรปู หรอื ขึ้นรปู ใหม่ 4. การหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นการแปรรูปมูลฝอยท่ีได้คัดแยกแล้ว ผลิตโดยผ่านกระบวนการใดกระบวนการหน่ึงแล้วเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น การหลอมแก้วขึ้นรูป ใหม่โดยใช้ขวดเก่า การทำกระดาษจากเศษกระดาษที่ใช้งานแล้ว ท้ังนจี้ ะได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ท่ีมีคณุ ภาพ

4-20 ใกล้เคียงกับผลิตภัณฑ์ที่ใช้วัสดุใหม่ นอกจากนั้น การหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ยังหมายถึงการ แปรเปลี่ยนให้ได้ผลิตภัณฑ์ในรูปท่ีเป็นพลังงานความร้อนโดยการเผา การหมักให้ได้ก๊าซท่ีเป็น เชอื้ เพลงิ การทำปุ๋ยหมกั เป็นตน้ 5. การกำจัด (Disposal) เป็นกิจกรรมข้ันสุดท้ายท่ีดำเนินการกับมูลฝอยที่ไม่สามารถ นำไปใช้ประโยชน์ได้อีกต่อไป วิธีเดียว คือ การฝังกลบในหลุมฝังกลบท่ีปลอดภัยและไม่กระทบต่อ สิ่งแวดล้อม ดังน้ัน ในการกำจัดแบบฝังกลบมักจะเปน็ พวกกลุ่มท่ีไม่เน่าเป่ือย ไมต่ ิดไฟและไม่อันตราย เพราะมูลฝอยท่ีมีคุณสมบัติที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ถูกคัดแยกออกไปหมดแล้ว สุดท้ายปริมาณ มูลฝอยที่เกิดข้ึนถูกลดปริมาณลงให้เหลือน้อยที่สุด ที่ต้องนำมากำจัดแบบฝังกลบในดินโดยไม่ส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือทำลายทรัพยากรธรรมชาติ การฝังกลบต้องพิจารณาตามความเหมาะสม กับชนิดของมูลฝอยน้ัน ๆ ก่อน จะนำไปกำจัดโดยการฝังกลบในขั้นตอนสุดท้าย (ธเรศ ศรีสถิตย์, 2558) สรุป ปญั หามลพษิ ส่ิงแวดลอ้ มเกิดขึน้ นั้น ส่วนใหญจ่ ากการกระทำของมนุษย์ มากกวา่ การเกิดข้ึนเอง ตามธรรมชาติ โดยปัญหามลพิษท่ีเกิดขึ้นน้ันมีสาเหตุหลักมาจากการพัฒนา การเปล่ียนแปลงทาง เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเภทของมลพิษท่ี สำคัญท่ีพบ ได้แก่ ปัญหามลพิษทางอากาศ ปัญหามลพิษทางน้ำ ปัญหามลพิษจากมูลฝอย เป็นต้น โดยปัญหามลพิษเหล่านี้ ต้องได้รับการป้องกัน ควบคุมและแก้ไขด้วย เทคนิค วิธีการและเทคโนโลยี ต่าง ๆ ท่ีถูกต้องและเหมาะสม เพื่อท่ีจะลดปริมาณการเกิดของมลพิษ ณ แหล่งกำเนิด และเพ่ือท่ีจะ ลดปริมาณในการกำจัดในข้ันตอนสุดท้าย ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือ และการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ทุกหนว่ ยงานจงึ จะแกไ้ ขปัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

4-21 เอกสารอ้างอิง กระทรวงอุตสาหกรรม กรมโรงงานอตุ สาหกรรม และ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชาวศิ วกรรม สง่ิ แวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์. (2554). ตำราระบบบำบัดมลพษิ นำ้ . กรุงเทพมหานคร: กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมควบคุมมลพิษ. (2561). ค่มู ือแนวปฏิบัตกิ ารลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยในหนว่ ยงานภาครฐั ภายใต้โครงการทำความดีด้วยหัวใจ ลดภยั สิ่งแวดล้อม. [ออนไลน]์ . สืบคน้ จาก: http://www.fio.co.th/3rs/manual_62.pdf กรมควบคุมมลพิษ. (2563). รายงานสถานการณม์ ลพิษของประเทศไทย ปี 2562 Thailand State of Pollution Report 2019. กรุงเทพมหานคร: สไตล์ครีเอทีฟเฮ้าส์ ธเรศ ศรีสถติ ย์. (2558). วิศวกรรมการจดั การมูลฝอยชมุ ชน Municipal Solid Waste Management Engineering.กรงุ เทพมหานคร: โกบอล กราฟฟิค พระราชบญั ญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535. [ออนไลน์]. สบื คน้ จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/A/037/1.PDF พระราชบญั ญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535. [ออนไลน์]. สบื ค้นจาก http://laws.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/laws/main.php?filename=1HL aws2016 พัฒนา มูลพฤกษ์. (2551). การป้องกันและควบคุมมลพิษ Pollution Prevention and Control. พิมพค์ ร้งั ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: สามเจริญพาณชิ ย์. ไพบลู ย์ แจม่ พงษ์ และ ศวิ พนั ธ์ุ ชูอินทร์. (2560). การจัดการขยะมลู ฝอย. กรุงเทพมหานคร: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4-22 แบบฝึกหัด/กจิ กรรมทา้ ยบท บทที่ 4 มลพิษสงิ่ แวดล้อม 4 คาบ 1. จงอธบิ ายความหมายของคำวา่ “มลพิษ” และ “ภาวะมลพษิ ” มาพอสังเขป 2. จงอธิบายการเกิดมลพิษทางอากาศ 3. จงอธิบายผลกระทบของมลพิษทางอากาศ 4. จงอธิบายการเกิดมลพิษทางน้ำ 5. จงยกตวั อย่างสารมลพษิ ทางน้ำวา่ มอี ะไรบ้าง พร้อมอธบิ าย 6. จงอธิบายการเกิดมลพิษจากมลู ฝอย 7. จงอธิบายการป้องกันและควบคุมมลพิษมลู ฝอย

5-1 4 คาบ แผนบริหารการสอน บทที่ 5 สถานการณ์สิ่งแวดลอ้ มโลกปัจจุบนั และประเทศไทย เนอื้ หาหลักประจำบท 1. สถานการณส์ ่งิ แวดล้อมโลกในปัจจุบัน 1.1 ปัญหามลพิษ 1.2 ปญั หาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 1.3 ความหลากหลายทางชวี ภาพ 2. สถานการณ์ส่งิ แวดล้อมในประเทศไทย 2.1 ทรพั ยากรดนิ 2.2 ทรพั ยากรแร่ 2.3 ทรพั ยากรป่าไม้ 2.4 ทรพั ยากรน้ำ 2.5 ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 2.6 ความหลากหลายทางชวี ภาพ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. ผู้เรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกับสถานการณ์สงิ่ แวดล้อม 2. ผู้เรียนสามารถยกตัวอย่างสถานการณส์ ่งิ แวดล้อมในปจั จุบันได้ กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ศึกษาเอกสารประกอบการบรรยายและเอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง 2. บรรยายสรปุ โดยใชส้ อื่ คอมพวิ เตอรน์ ำเสนอประกอบการบรรยาย 3. ยกตัวอยา่ งจากกรณีศึกษาและสรปุ ประเด็นสำคัญร่วมกัน 4. ทำแบบฝึกหัดท้ายบท สือ่ การเรยี นการสอน 1. ส่ือ Power Point 2. เอกสารประกอบการสอนและเอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง 3. แบบฝึกหัดท้ายบท

5-2 การวัดประเมนิ ผล 1. สงั เกตจากการแสดงความคิดเห็นและตอบคำถามในช้นั เรียน 2. ประเมนิ ผลจากการทำแบบฝกึ หัดทา้ ยบท 3. ประเมินผลการสอบปลายภาคเรียน

5-3 บทที่ 5 สถานการณ์สง่ิ แวดล้อมโลกปัจจบุ นั และประเทศไทย สุธาทอง หอมยา 5.1 สถานการณส์ ง่ิ แวดลอ้ มโลกในปจั จุบัน 5.1.1 ปัญหามลพษิ 1. มลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศ เป็นส่ิงท่ีเกิดมานานมากนับเป็นพันล้านปีตั้งแต่โลกเริ่มมี ช้ันบรรยากาศ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ สามารถกล่าวได้ว่ามลพิษทางอากาศเกิดจากสาเหตุทาง ธรรมชาติ เช่น ภูเขาไฟระเบิดไฟป่า ซึ่งจะปล่อยก๊าซ ควัน และเถ้าถ่านจากการระเบิดหรือเผาไหม้ ให้ฟุ้งกระจายไปในอากาศ หรือรวมไปถึง พายุฝุ่น (Dust Storm) ซ่ึงจะทำให้ฝุ่นทรายปริมาณ มหาศาลถูกแพร่กระจายไปในอากาศ อย่างไรก็ตาม หลังจากที่มนุษย์เร่ิมมีบทบาทในโลก มนุษย์เริ่ม กลายเป็นสาเหตุสำคัญท่ีทำให้เกิดมลพิษทางอากาศ โดยเร่ิมจากการเผาพ้ืนที่ธรรมชาติเพ่ือมาใช้อยู่ อาศัยและทำการเกษตรกรรม การใช้วตั ถดุ ิบตามธรรมชาติมาเปน็ เชือ้ เพลิง จากไม้ในยคุ แรก จนมาถึง การเริ่มใช้ถ่านหินในยุคกลาง และการใช้น้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม มหี ลักฐานบันทกึ ไว้ว่า มนุษย์ได้ตระหนักถึงผลกระทบและอนั ตรายจากควันท่ีเกิดจากการเผาไหม้ของ ถา่ นหินท่อี ังกฤษตงั้ แตก่ ลางทศวรรษท่ี 13 จากยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมมาจนถึงปัจจุบัน เป็นช่วงเวลาท่ีมนุษย์ไดก้ ่อให้เกิดปัญหา มลพิษทางอากาศมากที่สุด ด้วยสาเหตุหลักจากการบริโภคพลังงานเชื้อเพลิงต่าง ๆ ท้ังในครัวเรือน ภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม จากการสังเคราะห์สารเคมีใหม่ ๆ ข้ึนมาใช้ในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และจากสารตกค้าง ของเสียที่ปล่อยมาจากกระบวนการผลิตต่าง ๆ ซ่ึงปัจจุบัน ปัญหา มลพิษทางอากาศเริ่มกลายเป็นปัญหาหลักระดับโลกที่นานาชาติต่ืนตัว เน่ืองจากผลกระทบเกิดในวง กว้าง และส่วนมากประเทศที่ได้รับผลกระทบจะไม่ใช่ประเทศท่ีทำให้เกิดปัญหา ตัวอย่างของปัญหา มลพษิ ทางอากาศระดับภาคพื้นทวีปทีเ่ กิดโดยสาเหตทุ างธรรมชาตไิ ดแ้ ก่ ปญั หาการระเบิดของภเู ขาไฟ ส่วนปัญหาท่ีเกิดโดยที่มนุษย์มีส่วนร่วม ได้แก่ ปัญหาไฟป่าขนาดใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ แอฟริกา ปัญหาการกระจายตัวของสารกัมมันตภาพรังสี เป็นต้น ซึ่งการแพร่กระจายของมลพิษทาง อากาศโดยทั่วไป มักเกิดภายใต้สภาพอากาศท่ีเอ้ืออำนวยให้เกิดสภาวะมลพิษทางอากาศ ซึ่งสามารถ ตรวจวัดได้ทางด้านใต้ลมหรือบริเวณที่มลพิษทางอากาศน้ันถ่ายเทไปสู่ ในการแพร่กระจายในระยะ ทางไกลของมลพิษ หากเป็นในระดับภาคพื้นทวปี หรือเป็นระยะทางหลายพันกิโลเมตร สภาวะมลพิษ

5-4 ทางอากาศน้ันอาจเจือจางบรรเทาความรุนแรงลงหรือหายไป เน่ืองจากการผสมกับอากาศรอบข้าง ในขณะแพร่กระจาย และอาจตรวจสอบได้เพียงแค่ปริมาณความเข้มข้นของมลพิษท่ีเพ่ิมขึ้น เพยี งเลก็ นอ้ ยเทา่ นั้น (ภคั พงศ์ พจนารถ, 2555) 2. มลพษิ ทางทะเลและชายฝัง่ ทะเลและชายฝั่ง นอกจากเป็นแหล่งอาหารของมนุษย์แหล่งใหญ่แหล่งหน่ึง แล้วยัง เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีความหลากหลายและมีคุณค่ามากมาย ปัจจุบันแหล่งทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่งเสื่อมโทรมอย่างมาก ทง้ั นเ้ี นื่องมาจากทะเลและชายฝัง่ เปน็ แหล่งสุดท้ายท่ีรองรับของ เสียจากแหล่งต่าง ๆ ซึ่งถูกพัดมาตามลำน้ำแล้วสะสมกัน นอกจากน้ียังมีสาเหตุสำคัญมาจากการ พัฒนาด้านเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วบริเวณชายฝั่ง ส่งผลให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือย โดยไม่ คำนงึ ถึงความเสือ่ มโทรมทจี่ ะเกดิ ขึน้ กับทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม การนำเทคโนโลยีและวิทยาการต่าง ๆ มาใช้ในการดำเนินกิจกรรมท้ังในภาค การเกษตรอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และการท่องเท่ียว ซ่ึงการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นก่อให้เกิด ปัญหาจนเกิดเป็นมลพิษทางทะเลและชายฝ่ัง น้ำทะเลเสื่อมคุณภาพ สร้างความเสียหายต่อพืชและ สตั วท์ ี่อยอู่ าศยั ในทะเล และบรเิ วณชายฝั่ง และความเสียหายท่ีเกิดขน้ึ นนั้ ก็สง่ ผลยอ้ นกลับมายงั มนุษย์ แหล่งกำเนิดมลพิษดังกล่าวสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ แหล่งกำเนิดมลพิษจากชายฝั่ง และแหล่งกำเนดิ มลพิษในทะเล (สุวัจน์ ธัญรส, 2557) สำหรับสถานการณ์ขยะทะเลท้ังขยะพลาสติกและไมโครพลาสติก พบปัญหาในทุก มหาสมทุ รและทุกระดบั ความลกึ ของทะเล มีการประมาณการปริมาณขยะพลาสติกในทะเลในปัจจุบัน ว่าเกิดข้ึน 8 ล้านตันต่อปี ส่วนใหญ่มีแหล่งท่ีมาจากขยะบนบก ประมาณร้อยละ 8 ซึ่งขยะพลาสติก สง่ ผลกระทบต่อระบบนิเวศอย่างมีนยั สำคญั จากการที่สตั ว์ทะเลกินพลาสติกเขา้ ไป และสง่ ผลกระทบ ต่อระบบทางเดินอาหาร ทำให้ขาดอาหารและตายในที่สุด รวมถึงเป็นอันตรายจากการถูกรัด (Entangled) และทำให้บาดเจ็บอีกด้วย นอกจากนี้ ปัญหาการทิ้งอุปกรณจ์ ับปลาในท้องทะเล ยังเป็น แหล่งขยะทะเลท่ีสำคัญท่ีคุกคามและเป็นอันตรายต่อสัตว์ทะเล รวมถึงเป็นภัยคุกคามทางเศรษฐกิจท่ี สำคัญและอาจสร้างความเสียหายให้แก่เรือเดินสมุทร การทำประมง และระบบนิเวศอีกด้วย (สำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม, 2563) 5.1.2 ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ลักษณะอากาศเฉล่ียในพื้นที่หน่ึง ซ่ึงลักษณะอากาศเฉล่ียหมายความรวมถึงลักษณะทั้งหมดท่ี เกี่ยวข้องกับอากาศ เช่น อุณหภูมิ ฝน ลม เป็นต้น (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2564) โดยการเปล่ียนแปลง สภาพภูมิอากาศไม่ใช่ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นโดยฉับพลัน แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบของ สภ าพภูมิอากาศท่ีมากกว่าความแปรปรวนของสภ าพ อากาศตามธรรมชาติโดยทั่วไป

5-5 กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) ได้ ระบุ ค ำจำกั ด ค วาม ขอ งก าร เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศไว้ในมาตรา 1 กล่าวคือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หมายถึง การเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศซึ่งเป็นผลโดยตรงหรือโดยอ้อมจากกิจกรรมของมนุษย์ที่ เปล่ียนแปลงองค์ประกอบของชั้นบรรยากาศโลก และเป็นการเปล่ียนแปลงท่ีมากกว่าการ เปล่ยี นแปลงที่เกดิ จากความแปรปรวนทางสภาพภมู อิ ากาศท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาตใิ นช่วงเวลาเดยี วกัน ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นปรากฏการณ์ในระยะยาว การปรากฏผลเป็นรูปธรรมของการ เปล่ยี นแปลงและผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนนั้นอาจใช้ระยะเวลายาวนานถึง 30-50 ปี (สำนักงานนโยบาย และแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม, 2563) นอกจากน้ี การเกิดปรากฏการณ์ภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) ซ่ึงเป็น สาเหตุของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศนั้น เกิดจากความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกในช้ัน บรรยากาศที่เพ่ิมสูงข้ึน ทำให้ความร้อนท่ีมาจากดวงอาทิตย์ท่ีได้สะท้อนกลับจากพ้ืนดินสู่บรรยากาศ ไม่สามารถออกไปนอกชั้นบรรยากาศโลกได้ และถูกกักเก็บความร้อนสะสมไว้ในช้ันบรรยากาศ ทำให้ เกิดปรากฏการณ์ภาวะโลกรอ้ นขึ้น ซ่ึงกา๊ ซเรือนกระจก (Greenhouse Gases) เป็นก๊าซทมี่ ีคุณสมบัติ ในการดูดซับคล่ืนรังสีความร้อนหรือรังสีอินฟราเรดได้ดี ก๊าซเหล่านี้มีความจำเป็นต่อการรักษา อุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงท่ี แต่เม่ือมีก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศมากขึ้น บรรยากาศโลก จงึ มอี ุณหภมู ิสงู ขึน้ นัน้ เอง ดงั ภาพท่ี 5.1

5-6 ภาพที่ 5.1 การเกดิ ปรากฏการณ์ภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) ที่มา : การไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าค, 2564. ข้อมูลจากองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (World Meteorological Organization: WMO) ตามรายงาน WMO Statement on the State of the Global Climate in 2018 รายงานว่า พ.ศ. 2563 อุณหภูมิเฉล่ียของโลกมีค่าสูงกว่าอุณหภูมิในยุคอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2393 – 2443) ประมาณ 0.99±0.13 องศาเซลเชียส และยังถือเป็นปีที่ร้อนที่สุดเป็นปีที่ 4 นับต้งั แต่ พ.ศ. 2558 เป็น ต้นมา ในขณะที่รายงานพิเศษว่าด้วยภาวะโลกร้อน 1.5 องศาเชลเซียสของคณะกรรมการระหว่าง รัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (The Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) รายงานว่า อุณหภูมิเฉล่ียของโลกใน พ.ศ. 2549-2558 มีค่าสูงกว่าอุณหภูมิในยุค อุตสาหกรรม 0.87 องศาเซลเซียส เมื่อทำการเปรียบเทียบ พบว่า ค่าเฉล่ียที่เพิ่มสูงข้ึนเทียบกับช่วง ทศวรรษท่ีผ่านมา (พ.ศ. 2552-2561) คือ 0.93±0.07 องศาเซลเซียส และค่าเฉล่ียในช่วง 5 ปีท่ีผ่าน มา (พ.ศ. 2557-2561) คือ 1.04±0.09 องศาเซลเซียส จากรายงาน The Global Risks Report 2019 ขอ ง World Economic Forum ได้รายงานว่าสภาพอากาศที่เลวร้าย (Extreme Weather) เป็นความเสี่ยงด้านส่ิงแวดล้อมที่ต้องให้ ความสำคัญมากท่ีสุด และคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

5-7 กล่าวว่า มีเวลาอย่างมากอีก 12 ปีท่ีจำเป็นต้องดำเนินการสร้างการเปล่ียนแปลงอย่างท่ีไม่เคยเกิด ขึ้นมาก่อน เพ่ือป้องกันการเพิ่มข้ึนของอุณหภูมิเฉล่ียของโลกตามความตกลงปารีสที่ 1.5 องศา เซ ล เซี ย ส แ ล ะ จ าก ราย งาน The Fourth National Climate Assessment ข อ งป ระ เท ศ สหรัฐอเมริการายงานว่าหากไม่มีการดำเนินการลดก๊าซเรือนกระจกอย่างมีนัยสำคัญแล้ว อุณหภูมิ เฉลี่ยของโลกอาจจะเพิ่มข้ึน 5 องศาเซลเซียส ซึ่งการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศยังเป็นตัวเร่ง ท่ีสำคัญต่อการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ และส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศอีกด้วย (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม, 2563) 5.1.3 ความหลากหลายทางชีวภาพ ปัจจุบันความหลากหลายทางชีวภาพในโลกกำลังตกอยู่ในภาวะเส่ียง หลังจากลดลง อย่างต่อเน่ืองหลายทศวรรษ ความหลากหลายทางชีวภาพที่เปราะบางกำลังคุกคามความเป็นอยู่ท่ีดี และความอยู่รอดของมนุษย์ ในช่วง 44 ปีท่ีผ่านมาระหว่าง พ.ศ. 2513 ถึง 2557 ปริมาณประชากร สัตว์ป่าลดลงราวร้อยละ 60 ในขณะที่พื้นที่ซ่ึงเหมาะสมแก่การอยู่อาศัยของสัตว์ป่าลดลงร้อยละ 22 ในช่วงเวลาเดียวกนั (มลู นธิ ิสบื นาคะเสถียร, 2564) จากรายงานโลกมีชีวิต (Living Planet Report 2018: Aiming Higher) อ้างถึงการจัด ประชุมของ Intergovernmental Platform on Biodiversity and Ecosystem Services (IPBES) ในเดือนมีนาคม 2561 ซึ่งได้นำเสนอข้อมูลการประเมนิ ความเสื่อมโทรมของทดี่ ินและการฟน้ื ฟู พบว่า มีเพียง 1 ใน 4 ของพื้นที่บนโลกท่ีปลอดจากผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ ท้ังน้ี มีการคาดการณ์ ว่าใน พ.ศ. 2593 จะลดลงไปอีก 10 เท่า โดยพื้นท่ีชุ่มน้ำจะได้รับผลกระทบมากที่สุด คาดว่าจะ สูญเสียพ้ืนที่ถึงร้อยละ 87 ของพ้ืนที่ท้ังหมดในปัจจุบัน สาเหตุสำคัญของการเส่ือมโทรมของดินใน แต่ละแห่ง คือ การจัดการทรัพยากรที่ดินท่ีไม่เหมาะสม ได้รับปัจจัยขับเคลื่อนจากระดับภูมิภาคและ ระดับโลก อาทิ การเพ่ิมขึ้นของความต้องการผลิตภัณฑ์ท่ีได้มาจากระบบนิเวศเกินกว่าความสามารถ ของระบบนเิ วศทจ่ี ะสามารถจัดหาได้ ส่ ว น ร า ย งา น Summary for Policymakers: Sixth Global Environment Outlook 2019 กล่าวถึงอัตราการสูญพันธุ์ของชนิดพันธ์ุมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน ปัจจุบันสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบน บก สัตวไ์ มม่ กี ระดูกสันหลังในนำ้ จืดและสัตว์ไม่มกี ระดกู สนั หลงั ในน้ำทะเล มีอัตราการสูญพันธร์ุ ้อยละ 42 34 และ 25 ตามลำดับ ซ่ึงถือว่ามีความเสี่ยงในการสูญพันธุ์ ระหว่าง พ.ศ. 2513-2557 พบว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังในโลกมีจำนวนประชากรลดลงโดยเฉลี่ยร้อยละ 60 ท้ังนี้ แรงกดดันท่ีสำคัญต่อ ความหลากหลายทางชีวภาพ คือ การเปล่ียนแปลงแหล่งท่ีอยู่ การสูญเสียและเส่ือมสภาพการทำ การเกษตรแบบไม่ยั่งยืน การแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นท่ีรุกราน รวมถึงปัญหามลพิษ ปัญหา ขยะไมโครพลาสติก การลักลอบค้าสัตว์ป่า การทำการค้าที่ผิดกฎหมายเกี่ยวกับสัตว์ป่า ประมง และ ป่าไม้ โดยมีหลักฐานแสดงให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะก่อให้เกิดภัยคุกคามต่อการ

5-8 เก็บเก่ียวในอนาคต อาทิ สายพันธุ์ โรคติดต่อของพืช รวมถึงการอพยพเปลี่ยนที่อยู่อาศัยจากการ เปล่ียนแปลงอณุ หภมู ิ ท้ังน้ี ในรายงานยังได้กล่าวถึงความพยายามในการดำเนินการใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย ในระดับสากล เช่น การบรรลุตามแผนกลยุทธ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 2011-2020 และ เป้าหมายไอจิ ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ (Aichi Biodiversity Targets) และเป้าหมายการ พัฒนาที่ย่ังยืน เป็นต้น นอกจากน้ียังมีการสานต่อนโยบายทางด้านวทิ ยาศาสตร์ผ่านเวทีวิทยาศาสตร์ และนโยบายความร่วมมือระหว่างรัฐบาลว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพและการให้บริการของ ระบบนิเวศ และในปัจจุบันความหลากหลายทางชีวภาพได้ถูกบูรณาการรวมเข้ากับประเด็นด้าน สุขภ าพ เพ ศ และความตระห นั กด้านอ่ืนๆ ท่ี เก่ียวข้อง (สำนั กงานน โยบ ายและแผน ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม, 2563) 5.2 สถานการณส์ งิ่ แวดลอ้ มในประเทศไทย 5.2.1 ทรัพยากรดิน ดิน เป็นทรัพยากรที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ พืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิต รวมท้ังยังมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ เน่ืองจากส่วนใหญ่ใช้เพื่อเกษตรกรรม หากขาดการจัดการทรัพยากรดินท่ีดีจะก่อให้เกิดปัญหาดินเส่ือมโทรม และส่งผลกระทบต่อระบบการ ผลิต จากรายงานสถานภาพทรพั ยากรดนิ และที่ดินของประเทศไทย พบวา่ ปญั หาดิน สามารถจำแนก ตามสาเหตุของการเกิดได้ 2 ประเภท คือ (1) ปัญหาดินท่ีเกิดตามสภาพธรรมชาติ ได้แก่ ดินอินทรีย์ ดินเค็ม ดินเปรี้ยวจัด ดินทราย และดินตื้น และ (2) ปัญหาดินที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ได้แก่ ดินดาน ดินปนเป้ือน ดินเหมืองแร่ร้าง และดินในพื้นที่นากุ้งร้าง ท้ังนี้ ประเทศไทยมีเน้ือท่ีท้ังหมด 320.70 ล้านไร่ จากข้อมูลใน พ.ศ. 2561 พ้ืนท่ีดินปัญหาที่เกิดตามสภาพธรรมชาติของประเทศไทย มีเน้อื ที่ 60,125,262 ไร่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.72 ของเนือ้ ท่ปี ระเทศ ส่วนสถานการณ์ของดินปัญหาท่ีเกิดจากการใช้ประโยชน์ที่ดินทางการเกษตร พบว่า ปัญหาการปนเปื้อนของทรัพยากรดินนับเป็นปัญหาสำคัญท่ีมีผลต่อการจัดการและการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรดิน ส่วนใหญ่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ได้แก่ การใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีทางการ เกษตร เปน็ ปัญหาสำคญั ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ การเกดิ มลพษิ และอันตรายต่อสุขภาพมนุษย์ นอกจากน้ี การใช้สารเคมีทางการเกษตรใน พ.ศ. 2561 มีการนำเข้าวัตถุอันตรายทาง การเกษตร ท้ังสารกำจดั วัชพชื สารกำจดั แมลง สารป้องกันและกำจดั โรคพืช และประเภทอืน่ ๆ ได้แก่ สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช สารรมควันพิษสารกำจัดหอยและหอยทาก สารกำจัดไร ไส้เดือน ฝอย และสารกำจัดหนู เม่ือพิจารณาในช่วง 10 ปที ีผ่ ่านมา พบว่า ปริมาณการนำเขา้ วัตถุอันตรายทาง การเกษตรมแี นวโนม้ เพิ่มข้นึ

5-9 5.2.2 ทรพั ยากรแร่ ปริมาณทรัพยากรแร่ในประเทศไทยใน พ.ศ. 2559 พบแร่มากกว่า 40 ชนิด ครอบคลุม พ้ืนที่ประมาณ 6 ล้านไร่หรือคิดเป็นร้อยละ 14 ของปริมาณทรัพยากรแร่ทั้งประเทศรวมประมาณ 19 ล้านล้านตัน ทรัพยากรแร่ของประเทศไทยแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ และมีการกระจายตัวอยู่ทั่วทุกภาค ของประเทศ เมื่อพิจารณาเป็นรายชนิดแร่ พบว่า แร่เกลือหินเป็นแร่ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุดในประเทศ มีประมาณ 18 ล้านล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 92.08 ของปริมาณทรัพยากรแร่ทั้งประเทศ ท้ังนี้ ทรัพยากรแร่ท่ีมีปริมาณสูงสุด 5 อันดับแรกของประเทศไทย หากไม่รวมแร่เกลือหินได้แก่ อันดับ 1 หนิ ปูนเพ่ืออุตสาหกรรมซีเมนต์ มีประมาณ 6 แสนล้านตัน คิดเป็นสดั ส่วนรอ้ ยละ 39.54 ของปริมาณ ทรพั ยากรแรท่ ั้งประเทศ อันดับ 2 แร่โพแทช มปี ระมาณ 4 แสนลา้ นตัน คิดเป็นสัดสว่ นรอ้ ยละ 26.28 ของปริมาณทรัพยากรแร่ท้ังประเทศ อันดับ 3 หินปูนเพ่ืออุตสาหกรรมก่อสร้าง มีประมาณ 3 แสน ล้านตัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 19.03 ของปริมาณทรัพยากรแร่ท้ังประเทศ อันดับ 4 หินดินดาน มปี ระมาณ 1 แสนล้านตัน คิดเป็นสัดส่วนรอ้ ยละ 7.43 ของปรมิ าณทรัพยากรแร่ท้ังประเทศ อันดับ 5 หินบะซอลต์ มีประมาณ 4 หม่ืนล้านตัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 2.72 ของปริมาณทรัพยากรแร่ท้ัง ประเทศ การผลิตแร่ของประเทศไทยใน พ.ศ. 2561 ประเทศไทยมีมูลค่าการผลิตแร่ 64,555 ล้าน บาท ลดลงร้อยละ 16.51 จาก พ.ศ. 2560 ท่ีมีมลู ค่าการผลิต 77,320 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลมาจากการ ลดลงของปริมาณเป็นสำคัญโดยเฉพาะแร่ท่ีมีปริมาณการผลิตมาก เช่น หินปูน ลิกไนต์ และยิปซัม เป็นต้น 5.2.3 ทรพั ยากรปา่ ไม้ ใน พ.ศ. 2561 ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าไม้ 102.49 ล้านไร่ หรือร้อยละ 31.68 ของพ้ืนท่ี ประเทศ เพ่มิ ขน้ึ จาก พ.ศ. 2560 ที่มีพื้นทปี่ ่าไม้ 102.16 ล้านไร่ หรอื ร้อยละ 31.58 ของพืน้ ที่ประเทศ เมื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าไม้ ในช่วง พ.ศ. 2560-2563 พบว่า พ้ืนท่ีป่าไม้ในรอบ หนึ่งปีท่ีผ่านมาเพ่ิมขึ้น 0.33 ล้านไร่ ส่วนพ้ืนท่ีป่าไม้แต่ละภูมิภาคของประเทศไทย ใน พ.ศ. 2561 พบว่า ภาคเหนือมีพื้นท่ีปา่ ไมม้ ากทส่ี ดุ 38,533,429 ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 64.17 ของพื้นที่ภาค รองลงมา คื อ ภ าค ต ะ วั น ต ก มี พื้ น ที่ ป่ าไม้ 20,108,514 ไร่ คิ ด เป็ น ร้อ ย ล ะ 59.08 ข อ งพ้ื น ท่ี ภ าค ภ าคตะวันออกเฉียงเห นือมีพ้ื นท่ีป่าไม้ 15,750,099 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 15.03 ของพื้นท่ี เม่อื เปรียบเทียบการเปลยี่ นแปลงพ้ืนที่ป่าไม้ ใน พ.ศ. 2561 กับ พ.ศ. 2560 พบวา่ ภูมิภาคท่ีมีสัดสว่ น พื้นที่ป่าไม้เพ่ิมข้ึน ได้แก่ ภาคใต้ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาค ตะวันตก ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.07, 1.04, 0.28, 0.60 และ 0.02 ตามลำดับ ในขณะท่ีภาคเหนือมีพ้ืนท่ี ป่าไมล้ ดลง ร้อยละ 0.06 ท้ังน้ี การสูญเสียพื้นท่ีป่าไม้ในประเทศไทยเกิดจากหลายสาเหตุ ได้แก่ การบุกรุกพื้นท่ี ปา่ เพื่อตัดไม้ไปใช้ประโยชน์ การแผว้ ถางพื้นท่ีป่าเพ่ือใช้ในการเกษตรและที่อยู่อาศัย รวมถึงการบุกรุก

5-10 ยึดถือ ครอบครองพ้ืนท่ีป่า จากสถิติการกระทำผิดกฎหมายเก่ียวกับการป่าไม้ในเขตพ้ืนท่ีป่าสงวน แห่งชาติ ในความรับผิดชอบของกรมป่าไม้ พบว่า ใน พ.ศ. 2561 มีจำนวนคดีบุกรุก 1,519 คดี มีพื้นท่ีที่ถูกบุกรุกรวม 33,783.57 ไร่ ลดลงจาก พ.ศ. 2560 ท่ีมีจำนวนคดีบุกรุก 1,883 คดี มีพ้ืนที่ท่ี ถูกบุกรุกรวม 41,075.23 ไร่ ท้ังน้ี เม่ือพิจารณาในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา พบว่า จำนวนคดีบุกรุกมี แนวโนม้ ลดลง สำหรบั การเกิดไฟป่าท่ีมสี าเหตุมาจากธรรมชาติและจากการกระทำของมนุษย์ ส่งผลต่อ ความสมดุลของระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของมนุษย์ ซ่ึงจากข้อมูลของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช พบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีการ ดับไฟ 3,768 ครั้ง และมีพ้ืนท่ีถูกไฟไหม้รวม 55,766 ไร่ ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ท่ีมีการ ดับไฟป่า 4,650 ครั้ง และมีพ้ืนท่ีถูกไฟไหม้รวม 75,419 ไร่ โดยจำนวนครั้งลดลงร้อยละ 18.97 และ พื้นท่ีถูกไฟไหม้ลดลงร้อยละ 26.06 เม่ือพิจารณาพ้ืนที่ถูกไฟไหม้จากการเกิดไฟป่า ในแต่ละภูมิภาค พบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ภาคเหนือมีพื้นที่ถูกไฟไหม้มากท่ีสุด 43,437 ไร่ รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ภาคกลางและภาคตะวนั ออก และภาคใต้ ตามลำดับ 5.2.4 ทรัพยากรน้ำ ใน พ.ศ. 2561 ประเทศไทยมีฝนตกอยู่ในเกณฑ์ดี โดยมีปริมาณฝนเฉลี่ยท้ังประเทศ 1,660.9 มิลลิเมตร สูงกว่าค่าปกติหรือปรมิ าณฝนเฉลี่ยคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2524-2553) คิดเป็นร้อยละ 5.0 ซึ่งนอ้ ยกว่า พ.ศ. 2560 ที่มีปริมาณฝนเฉล่ีย 2,017.1 มิลลิเมตร โดยภาคใต้ฝ่งั ตะวันตกมีปริมาณ ฝนเฉล่ียมากท่ีสุด 2.879.6 มิลลิเมตร รองลงมา คือ ภาคใต้ฝ่ังตะวันออก ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคเหนือ โดยมีปริมาณ 1,959.3 1,926.5 1,381.3 1,380.8 และ 1,274.2 มิลลิเมตร ตามลำดับ เม่ือพิจารณาในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา พบว่า ปริมาณฝน เฉลีย่ มแี นวโนม้ ค่อนขา้ งคงที่ ประเทศไทยมีความต้องการใช้น้ำใน พ.ศ. 2560 อยู่ท่ีประมาณ 151,746 ล้านลูกบาศก์ เมตร เปน็ ความต้องการใช้นำ้ เพ่ือการเกษตรสูงถงึ 113,960 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นรอ้ ยละ 75.10 ของความต้องการน้ำท้ังหมดในจำนวนน้ีอยู่ในเขตแหล่งกักเก็บน้ำและระบบชลประทานน้ำอยู่แล้ว 65,000 ล้านลูกบาศก์เมตร ส่วนที่เหลือ 48,960 ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นความต้องการใช้น้ำเพื่อ การเกษตรในพ้ืนท่ีนอกเขตชลประทาน (พื้นท่ีเกษตรน้ำฝน) รองลงมา คือ ความต้องการใช้น้ำเพื่อ รกั ษาระบบนิเวศประมาณ 27,090 ล้านลูกบาศก์ก็เมตร คิดเป็นร้อยละ 17.85 ของความต้องการใช้ น้ำท้ังหมด ความต้องการใช้น้ำเพ่ือการอุปโภคบริโภคประมาณ 6,490 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็น ร้อยละ 4.28 ของความต้องการใช้น้ำทั้งหมด และความต้องการใช้น้ำเพ่ืออุตสาหกรรม 4,206 ล้าน ลกู บาศก์เมตร คิดเปน็ ร้อยละ 2.77 ของความตอ้ งการใชน้ ำ้ ท้งั หมด

5-11 5.2.5 ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่งั 1. ทรพั ยากรประมง ปริมาณและมูลค่าการจับสัตว์น้ำเค็มจากธรรมชาติใน พ.ศ. 2560 มีปริมาณรวม 1,300.40 พันตัน มูลค่ารวม 58,222.10 ล้านบาท โดยมีปริมาณการจับสัตว์น้ำเค็มจากธรรมชาติ น้อยกว่าใน พ.ศ. 2559 ที่มีปริมาณรวม 1,343.30 พันตัน แต่มมี ลู ค่ามากกวา่ ใน พ.ศ. 2559 ท่มี ีมูลค่า รวม 55,787.20 ล้านบาท เม่ือพิจารณาปริมาณและมูลค่าการจับสัตว์น้ำเค็มในช่วง 10 ปีท่ีผ่านมา พบว่า ปริมาณสัตว์น้ำเค็มจากการจับจากธรรมชาติและจากการเพาะเลี้ยงชายฝั่งมีแนวโน้มลดลง ในขณะทม่ี ลู ค่าสตั ว์นำ้ เค็มจากการจับจากธรรมชาตแิ ละจากการเพาะเล้ียงชายฝง่ั มแี นวโน้มเพ่ิมขึ้น 2. ปา่ ชายเลน ในช่วง พ.ศ. 2560-2561 จากข้อมูลการแปลภาพถ่ายดาวเทยี มของกรมป่าไม้ พบว่า ประเทศไทยมีพ้ืนท่ีป่าชายเลนคงสภาพท้ังหมดประมาณ 1,538,185 ไร่ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 0.24 จาก พ.ศ. 2557 ท่ีมีพื้นท่ีทั้งหมด 1,534,585 ไร่ กระจายอยู่บริเวณชายฝ่ังทะเลภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต้ รวม 24 จังหวัด เม่ือพิจารณาพื้นท่ีป่าชายเลนในช่วง 23 ปี ท่ีผ่านมา พบว่า พ้ืนท่ี ป่าชายเลนมีแนวโนม้ เพ่ิมขึ้น 3. หญ้าทะเล ใน พ.ศ. 2561 แหล่งหญ้าทะเลใน 19 จังหวัด มีพ้ืนที่รวมท้ังหมด 159,828 ไร่ เมื่อพิจารณาตามการแบ่งเขต พบว่า บริเวณทะเลอันดามันตอนล่างมีพ้ืนที่แหล่งหญ้าทะเลมากที่สุด 66,820 ไร่ รองลงมา คือ บริเวณทะเลอันดามันตอนบน อ่าวไทยตอนกลาง ชายฝ่ังทะเลภาค ตะวันออก อ่าวไทยตอนล่าง และอ่าวไทยตอนบน มีพ้ืนที่แหล่งหญ้าทะเล 32,811 29,242 26,026 4,899 และ 30 ไร่ ตามลำดับ 4. แนวปะการงั ใน พ.ศ. 2561 แนวปะการังของประเทศไทย มีพื้นท่ีรวมทั้งสิ้น 149,025 ไร่ ซ่ึงเพิ่มขึ้นจาก พ.ศ. 2558 ทมี่ ีพืน้ ท่ี 148,955 ไร่ เนื่องจากมกี ารสำรวจแนวปะการังเพิ่มเตมิ ในจังหวัด ปัตตานี และนราธิวาส โดยแนวปะการังมีสถานภาพสมบูรณ์เพิ่มข้ึน เม่ือพิจารณาตามการแบ่งเขต พบว่า บริเวณอ่าวไทยตอนกลาง มีพ้ืนที่แนวปะการังมากที่สุด 46,785 ไร่ แต่มีสถานภาพแนว ปะการังเสียหายถึงเสียหายมาก รองลงมา คือ บริเวณทะเลอันดามันตอนบนมีพ้ืนท่ีแนวปะการัง 42,886 ไร่ มีสถานภาพแนวปะการังเสียหายมาก และบริเวณทะเลอันดามันตอนล่าง 30,497 ไร่ มีสถานภาพแนวปะการังสมบูรณ์ป่านกลางและเสียหายมาก ในขณะที่บริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออกมี พน้ื ท่ีแนวปะการัง 28,147 ไร่ มีสถานภาพแนวปะการังสมบูรณ์ปานกลางถึงเสยี หายมาก ส่วนบริเวณ อ่าวไทยตอนล่างมีพ้ืนท่ีแนวปะการังน้อยทีส่ ุด 728 ไร่ แต่มีสถานภาพแนวปะการังสมบูรณ์ปานกลาง ถงึ สมบรู ณ์มาก

5-12 5. สัตวท์ ะเลหายาก สัตว์ทะเลหายากในน่านน้ำไทยมี 3 กลุ่ม ได้แก่ เต่าทะเล พะยูน โลมาและวาฬ ซึ่ง ท้ังหมดถูกจัดเป็นสตั ว์ปา่ สงวนและคมุ้ ครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 วา่ ด้วยการห้ามล่า หา้ มค้า หา้ มครอบครองห้ามเพาะพันธ์ุ โดยมีผลครอบคลุมไปถึง ไข่ ซาก ตลอดจน ช้ินส่วนต่าง ๆ ของสัตว์เหล่านั้น โดยเต่าทะเลในประเทศไทย พบเพียง 5 ชนิด คือ เต่ามะเฟือง เต่าตนุ เต่ากระ เต่าหญ้า และเต่าหัวค้อน ส่วนพะยูนที่แพรก่ ระจายอยู่ในบริเวณแหล่งหญ้าทะเลของ ประเทศไทยทั้งฝ่ังอ่าวไทยและทะเลอันดามัน มีเพียงชนิดเดียว คือ พะยูน (Dugong, Dugong Dugon) ซ่ึงพบทางฝั่งทะเลอันดามันบริเวณจังหวัดตรังมากท่ีสุด ในขณะท่ีกลุ่มโลมาและวาฬที่พบ ในประเทศไทยมี 27 ชนดิ แบ่งเป็นกลุ่มท่อี ยปู่ ระจำถ่นิ ใกล้ฝ่งั และกลุม่ ทีม่ ีการอพยพย้ายถ่ินระยะไกล ซ่ึงมักอาศัยบริเวณไกลฝ่ัง ชนิดโลมาและวาฬที่มีการศึกษาในเชิงสถานภาพ และการแพร่กระจาย จำกัดอยู่ในกลุ่มที่อยู่ประจำถ่ินใกล้ฝั่งมี 6 ชนิด ได้แก่ โลมาปากขวด โลมาหัวบาตรหลังเรียบ โลมา หลงั โหนก โลมากลุ่มสตเี นลล่า โลมาอิรวดี และวาฬบรดู ้า สำหรับสถิติการเกยต้ืนของสัตว์ทะเลหายาก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 พบสัตว์ ทะเลหายากเกยตื้นจำนวน 692 ตัว จำแนกเป็นซากเกยตื้น จำนวน 436 ตัว และเกยตื้นที่มีชีวิต จำนวน 256 ตัว โดยเต่าทะเลมีจำนวนเกยต้ืนรวม 436 ตัว โลมาและวาฬมีจำนวนเกยตื้นรวม 242 ตวั และพะยูนมีจำนวนเกยตืน้ รวม 14 ตัว ซ่งึ เพ่ิมข้ึนจาก พ.ศ. 2560 ทีม่ สี ตั ว์ทะเลหายากเกยตื้น 413 ตัว ประกอบด้วย เต่าทะเลจำนวน 247 ตวั โลมาและวาฬ จำนวน 149 ตวั และพะยนู จำนวน 19 ตัว โดยสาเหตุการเกยตื้นส่วนใหญ่ของเต่าทะเล เกิดจากการติดเครื่องมือประมงการติดเศษอวน หลงทิศ การกินขยะ และติดเช้อื ในกระแสโลหิต ในสว่ นของกลมุ่ โลมาและวาฬ มสี าเหตกุ ารเกยต้นื ส่วนใหญม่ า จากการป่วยตามธรรมชาติ เช่นเดียวกับพะยูน เมอ่ื พิจารณาในช่วง 7 ปีท่ีผ่านมา การเกยต้ืนของสัตว์ ทะเลหายากมีแนวโน้มเพ่มิ ข้ึน เนื่องจากการสร้างเครอื ข่ายการชว่ ยเหลือสัตว์ทะเลหายากใหม้ ีการแจ้ง ขา่ วสารและเพิม่ ประสทิ ธิภาพของการช่วยเหลือสัตวท์ ะเลหายากเบ้ืองตน้ ไดด้ ีมากขึน้ 5.2.6 ความหลากหลายทางชีวภาพ 1. สถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพดา้ นพชื ความหลากหลายทางชีวภาพด้านพืชของประเทศไทย ใน พ.ศ. 2558 การประเมิน ชนิดพืชท่ีถูกคุกคามในประเทศไทย ตามหลักเกณฑ์ของ International Union for Conservation of Nature (IUCN) ค.ศ. 1994 สำหรับชนิดพันธุ์เฉพาะถ่ินและชนิดพันธุ์หายาก และ ค.ศ. 2001 สำหรับชนดิ พันธท์ุ ี่มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ ใกล้สูญพนั ธุ์ และใกล้สญู พนั ธุ์อย่างยิ่ง พบว่า มชี นิดพชื ท่ถี ูก คุกคาม (Threatened Species) จำนวน 965 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 8.76 ของชนิดพืชที่จำแนกระบุ แลว้ ทั้งหมดของประเทศไทย แบ่งเปน็ พชื ทอ่ี ยู่ในสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สญู พนั ธ์ุ (Vulnerable: VU)

5-13 จำนวน 739 ชนิด พืชที่อยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธ์ุ (Endangered: EN) จำนวน 207 ชนิด และ พชื ทอ่ี ยู่ในสถานภาพใกล้สญู พันธุ์อยา่ งยงิ่ (Critically Endangered: CR) จำนวน 20 ชนิด 2. สถานภาพความหลากหลายทางชวี ภาพด้านสัตว์ ประเทศไทยได้มีการสำรวจและประเมินสถานภาพชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามของสัตว์มี กระดูกสันหลัง ใน พ.ศ. 2558 จำนวน 2,276 ชนิด พบว่า สูญพันธ์ุแล้ว จำนวน 8 ชนิด ได้แก่ สมัน กูปรี กระซู่ แรด นกพงหญ้า นกช้อนหอยใหญ่ นกหัวขวานด่างหน้าผากเหลือง และปลาหวีเกศ สถานภาพสูญพันธ์ุในธรรมชาติ จำนวน 4 ชนิด ส่วนชนิดพันธุ์ท่ีอยู่ในสถานภาพท่ีถูกคุกคาม (Threatened Species) มีจำนวน 569 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 12.03 ของชนิดพันธ์ุในไทย จำแนกเป็น มแี นวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (VU) จำนวน 282 ชนิด ใกลส้ ญู พนั ธุ์ (EN) จำนวน 185 ชนดิ และใกลส้ ูญพันธ์ุ อย่างยิ่ง (CR) จำนวน 102 ชนิด โดยสัตว์เล้ียงลกู ดว้ ยนมมชี นิดพันธุ์ท่ีมีสถานภาพถูกคุกคามมากท่ีสุด ร้อยละ 35.65 ของชนิดพันธ์ุสัตว์เล้ียงลูกด้วยนมในไทย รองลงมา คือ นก สัตว์เล้ือยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และปลา ตามลำดับ ทั้งน้ี ชนิดพันธุ์สัตว์มีกระดูกสันหลังในประเทศไทย มีจำนวน 4,731 ชนิด เม่ือเปรียบเทียบกับ พ.ศ. 2556 มีจำนวน 4,722 ชนิด พบว่า สัตว์มีกระดูกสัน หลังท่ีอยใู่ นสถานภาพชนิดพันธ์ทุ ่ีถูกคุกคามเพ่ิมขึ้น 14 ชนิด ประกอบดว้ ย ปลา 6 ชนิด สัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนม 5 ชนิด และนก 3 ชนิด ในขณะที่สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกมีสถานภาพ ถูกคุกคามจำนวนเท่าเดิม เม่ือพิจารณาแนวโน้มของการคุกคามในช่วง 12 ปีท่ีผ่านมา พบว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในสถานภาพชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคามเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สตั วเ์ ลือ้ ยคลาน และสตั ว์สะเทินน้ำสะเทนิ บก

5-14 เอกสารอา้ งอิง กรมอตุ ุนิยมวิทยา. (2564). การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: http://climate.tmd.go.th/content/article/9. สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม. (2563). รายงานสถานการณ์คุณภาพ สิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 [ออนไลน์]. สบื ค้นจาก: https://www.onep.go.th/ebook/soe/soereport2019.pdf. การไฟฟา้ ส่วนภูมิภาค. (2564). ปรากฏการณเ์ รือนกระจก. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: https://www.pea.co.th/Portals/11/greenoffice/03.%E0%B8%9B%E0%B8%A3 %E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%8F%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8% A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8 %AD%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0% B8%81.jpg?ver=2019-08-06-113638-547. ภัคพงศ์ พจนารถ. (2555). “มลพษิ ทางอากาศในระดบั ภมู ิภาคและการแพร่กระจายในระยะทางไกล: (1) ภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออก”. วารสารการจดั การสง่ิ แวดล้อม ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มถิ นุ ายน 2555. สุวัจน์ ธญั รส. (2557). มลพิษทางทะเลและชายฝงั่ . [ออนไลน์]. สืบคน้ จาก: https://fishtech.rmutsv.ac.th/fishtech/sites/default/files/files/2557/SAR56/FIS HTECH%204.0.3-02(6).pdf. มลู นธิ สิ บื นาคะเสถียร. (2564). การหายไปของความหลากหลายทางชีวภาพ ส่งผลตอ่ มนษุ ยชาติ อย่างไร [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: https://www.seub.or.th/bloging

5-15 แบบฝกึ หัด/กิจกรรมทา้ ยบท บทท่ี 5 สถานการณส์ งิ่ แวดลอ้ มโลกปัจจบุ ันและประเทศไทย 4 คาบ 1. จงอธบิ ายและยกตัวอยา่ งสถานการณส์ งิ่ แวดล้อมโลกปจั จบุ นั 2. Climate Change และ Greenhouse Effect มีความเก่ียวข้องกันหรอื ไม่ อยา่ งไร 3. ปญั หาดนิ สามารถจำแนกตามสาเหตุของการเกดิ ได้กปี่ ระเภท อะไรบา้ ง 4. การสูญเสยี พนื้ ที่ปา่ ไม้และการเกิดไฟป่าในประเทศไทย เกดิ จากสาเหตใุ ด 5. สถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพด้านพืชและสัตว์ในประเทศไทย มีแนวโน้มเป็น อย่างไร

6-1 แผนบริหารการสอน บทที่ 6 การพฒั นาทย่ี งั่ ยืน 4 คาบ เน้อื หาหลักประจำบท 1. หลักการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน 1.1 แนวคดิ การพฒั นาทยี่ งั่ ยนื ในประเทศไทย 1.2 ความยัง่ ยนื และการเป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม 1.3 การประชุมสุดยอดว่าดว้ ยการพัฒนาอยา่ งยั่งยนื 2. หลกั การและแนวคดิ การจดั การสง่ิ แวดล้อมอย่างยง่ั ยนื 2.1 หลักการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 2.2 เครอ่ื งมอื ในการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม (EIA/EHIA/ISO) วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. เพอ่ื ให้ผศู้ กึ ษามคี วามรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั การพฒั นาทยี่ ่ังยืน 2. เพือ่ ให้ผู้ศกึ ษามีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความย่ังยืนและการเปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม 3. เพื่อใหผ้ ูศ้ ึกษาตระหนักถงึ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมอย่างยงั่ ยนื 4. เพ่ือให้ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเคร่ืองมือในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม (EIA/EHIA/ISO) 5. เพ่ือให้ผู้ศึกษาสามารถนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการจัดการอย่าง ย่ังยนื กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ศกึ ษาเอกสารประกอบการสอนดา้ นการพัฒนาท่ียั่งยนื 2. แบ่งกลุ่มสรุปประเดน็ ร่วมกันแสดงความคิดเหน็ ในการแก้ไขปญั หาและการจดั การ 3. ร่วมอภิปรายเน้ือหา และทำแบบฝึกหดั 4. ค้นคว้ากรณศี กึ ษา สอ่ื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. Power Point 3. YouTube

6-2 การวัดผลและประเมนิ ผล 1. คะแนนกจิ กรรมในห้องเรียน 2. คะแนนแบบฝึกหดั 3. ตงั้ คำถามในเน้ือหาทสี่ อน 4. สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน การทำงานกลมุ่ 5. ตรวจแบบฝึกหัด

6-3 บทที่ 6 การพัฒนาที่ยัง่ ยืน นิติญา สังขนันท์ 6.1 หลกั การพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืน การเปลี่ยนแปลงกระแสการพัฒนาของโลกหรือกระแสโลกาภิวัตน์ (Globalization) นำมาซึ่ง ความเจริญกา้ วหน้าทางเทคโนโลยแี ละกลไกการตลาดท่ีกอ่ ให้เกิดการเตบิ โต ขนาดใหญ่การผลติ ในเชิง อุตสาหกรรมและการบริโภคท่ีเกินความจำเป็นจนกระท่ัง เป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม ชีวิตมนุษย์ สัตว์ และพืชพรรณธรรมชาติ โดยไม่คำนึงถึงขอ้ จำกัดด้านกายภาพ ศักยภาพในการผลิตความสามารถท่ีจะ รองรับการบริโภคและการใชป้ ระโยชน์จากทนุ ดง้ั เดิม แนวคิดการพัฒ นาที่ยั่งยืนจึงเริ่มเข้ามามีบทบาทในกระแสการพัฒ นาสังคมโล กนับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2515 เริ่มตั้งแต่สหประชาชาติจึงได้จัดให้มีการประชุมสุดยอดว่าด้วยสิ่งแวดล้อมของมนุษย์ (Human Environment) ณ กรุงสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ซ่ึงเรียกร้องให้ทั่วโลกคำนึงถึงการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพและต่อมาในปีพ.ศ. 2526 สหประชาชาติได้จัดตั้ง สมัชชาโลกว่าด้วยส่ิงแวดล้อมและการพัฒนา (World Commission On Environment and Development) หรือเป็นท่ีรู้จักกันโดยทั่วไปว่า “Brundtland Commission” ได้ เรียกร้องให้ ชาวโลกเปล่ียนแปลงวิถีการดำรงชีวิตให้ปลอดภัยจากส่ิงแวดล้อมและ สอดคล้องกับข้อจำกัดของ ธรรมชาตริ วมทง้ั ได้เสนอวา่ มนษุ ยชาติสามารถท่ีจะทำให้ เกิด \"การพฒั นาท่ียง่ั ยืน\" ข้นึ มาได้ การพัฒนาที่ย่ังยืนได้รับความสำคัญมากย่ิงข้ึนเมื่อสหประชาชาติได้จัดให้มีการประชุมว่าด้วย สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (Un Conference on Environment and Development : UNCED) หรือการประชุม Earth Summit ที่กรุงริโอ เดอจาเนโร ประเทศบราซิล เม่ือปี พ.ศ.2535 ซ่ึงผลการ ประชุมน้ีผู้แทนของ 178 ประเทศรวมทั้งประเทศไทยได้ร่วมลงนามรับรองแผนปฏิบัติการ 21 (Agenda 21) ซ่ึง ถือเป็นแผนแม่บทของโลกที่ประเทศสมาชิกต้องตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมและ เห็นความสำคัญที่จะร่วมกันพิทักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้เกิดข้ึนในโลกจาก แผนปฏิบัติการ 21 ข้างต้นประเทศไทยของเราก็รับเอาเรื่องการพัฒนาท่ีย่ังยืนมาร่วมดำเนินการด้วย โดยเฉพาะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ซ่ึงนอกจากจะ มุ่งเน้น \"คน\" เป็นศูนย์กลางการพัฒนา เนน้ เศรษฐกิจพอเพยี ง เน้นชุมชนเข้มแข็งและอน่ื ๆ แล้วยังเน้น ดา้ นการพัฒนาทยี่ ่งั ยนื อกี ด้วย

6-4 จากการพัฒนาประเทศในระยะ 40 ปีท่ีผ่านมานับตั้งแต่ประเทศไทยได้มีการจัดทำแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 1 ในปี พ.ศ. 2504 ยังไม่เคยมีหน่วยงานใดในประเทศไทย ที่คำนึงถึงผลการพัฒนาประเทศท่ีผ่านมาว่ามีการพัฒนาอย่างสมดุลใน 2 มิติหรือไม่จนกระทั่ง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 9 (พ.ศ.2545-2549) ที่ได้มีการอัญเชิญปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวฯ มาเป็นปรัชญานำทางในการ บริหารและพัฒนาประเทศโดยการส่งเสริมการพัฒนาและ บริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสาย กลางและให้ความสำคัญกับการพัฒนาท่ีมี ดุลยภาพท้ังในการบริหารพัฒนาท้ังคนเศรษฐกิจสังคมท่ีมี ความเกื้อกูลและไม่ เกิดความขัดแย้งซ่ึงกันและกันซ่ึงการพัฒนาเศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างมีคุณภาพ และแข่งขันได้จะต้องคำนึงถึงขีดจำกัดของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ี สามารถสงวนรักษา ไว้ใช้ประโยชน์ได้อย่างยาวนานด้วยท้ังนี้เพื่อคงความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติความ หลากหลายทางชีวภาพและคุณภาพสง่ิ แวดล้อมให้ สามารถเป็นฐานการผลิตของระบบเศรษฐกิจและ การดำรงชวี ิตของมนษุ ย์ได้อยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดไป นักพัฒนาในยุคปัจจุบันสนใจการพัฒนาที่ย่ังยืนเป็นอย่างย่ิงโดยเฉพาะนักวิชาการตะวันตกเอง เนื่องจากอดีตได้พัฒนาอย่างผิดพลาดเมื่อมีความต่ืนตัวที่จะปรับ ปรุงแก้ไขความผิดพลาดในการ พัฒนาในอดีตเป็นแนวทางใหม่ที่เรียกว่า “การพัฒนาท่ียั่งยืน” ซึ่งชาวตะวันตกเองก็ยังไม่เข้าใจแน่ ชัดแจ่มแจ้งว่าจะพัฒนาในรูปแบบใดพระธรรมปิฎก กล่าวถึงความเป็นมาของสังคมตะวันตกและ ประเทศไทยในอดีตพร้อมทั้งช้ีให้เห็น ข้อบกพร่องในการพัฒนาท้ังระบบและท่านได้เสนอแนวคิดใหม่ ซ่งึ ขณะน้ีองค์กรหลกั สององค์กร คือ องค์การสหประชาชาติและกรรมาธกิ ารส่ิงแวดล้อมโลกกำลังนำ แนวคิดน้ีมาใช้แต่ยัง คงเป็นรูปแบบท่ียังคงขาดความบูรณ์การพัฒนาท่ีย่ังยืนนั้นท่านเองก็เป็นนักคิด คนหน่ึงท่ีได้นำเสนอแนวทางที่องค์กรได้ปฏิบัติอยู่ผนวกกับแนวทางการพัฒนา แบบพุทธซ่ึงเน้นการ พัฒนาคนเป็นหลักภูมิปัญญาอันละเอียดลึกซ่ึงของท่านนั้นก็ เป็นประโยชน์ต่อชาวโลกอย่างมากมาย มหาศาลกว็ า่ ได้ (เฉลมิ เกียรติ แกว้ หอม, 2555) 6.1.1 แนวคดิ การพัฒนาท่ยี ัง่ ยืนในประเทศไทย นักวชิ าการหลายท่านพยายามอธบิ ายความหมายของการพฒั นาทย่ี ่ังยืนให้ชดั เจนย่ิงข้ึน ที่สำคัญคือ แนวคิดของพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต, 2541) ได้อธิบายการพัฒนาท่ีย่ังยืนว่า “การพัฒนาที่ยั่งยืนมีลักษณะท่ีเป็นบูรณาการ (Integrated) คือ ทำให้เกิดเป็นองค์รวม (Holistic) หมายความว่า องค์ประกอบท้ังหลายที่เกี่ยวข้องจะต้องมาประสานกันครบองค์ และมีลักษณะอีก อย่างหน่ึง คือ มีดุลยภาพ (Balance) หรือพูดอีกนัยหนึ่ง คือ การทำให้กิจกรรมของมนุษย์สอดคล้อง กับกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ” นั่นก็คือ การกำหนดแนวทางการพัฒนาจะต้องคำนึงถึงปัจจัยด้านมนุษย์ โดยให้คุณค่าทางวัฒนธรรมรวมอยู่ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการแก้ปัญหา ส่ิงแวดล้อมด้วย ดังนั้นตามแนวคิดของพระธรรมปิฎก จึงสามารถสรุปได้ว่า “การพัฒนาที่ยั่งยืนเป็น

6-5 การพัฒ นาที่ครอบคลุมการพัฒ นาในทุกด้านและทุกมิติ กล่าวคือ ท้ังเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จิตใจ วัฒนธรรม ฯลฯ โดยมีคนเป็นศูนย์กลางหรือ เป้าหมาย ของการพัฒนา เพ่ือให้คนอยู่ดีกินดี และมีความสุข ทั้งคนในรุ่นน้ีและรุ่นต่อ ๆ ไป” นอกจากน้ี ในการ จัดทำข้อเสนอของประเทศไทยในการประชุมสุดยอดของโลกว่าด้วยการพัฒนาท่ียั่งยืน ณ นครโจฮันเนสเบอร์ก ประเทศแอฟริกาใตเ้ มื่อเดือนกันยายน 2545 คณะอนุกรรมการกำกับการอนุวัต ตาม แผนปฏิบัติการ 21 และการพัฒนาที่ยั่งยืน ซ่ึงมีหน้าที่เป็นคณะกรรมการเตรียมการประชุมสุด ยอด ๆ ของประเทศได้ร่วมกับสถาบันส่ิงแวดล้อมไทย จัดระดมความคิดเห็นจากภาคีต่าง ๆ ได้ข้อยุติ ด้านคำ นิยามของการพัฒนาทยี่ ่ังยืนว่า “การพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย เป็นการพัฒนาที่ต้องคำนึงถึงความ เป็นองค์รวมของ ทุก ๆ ด้านอย่างสมดุล บนพื้นฐานของทรัพยากรธรรมชาติภูมิปัญญาและ วัฒนธรรมไทย ด้วยการมี ส่วนร่วมของประชาชนทุกกลุ่ม ด้วยความเอื้ออาทร เคารพซ่ึงกันและกัน เพื่อความสามารถในการ พึ่งตนเองและคุณภาพชีวติ ทีด่ ีอยา่ งเทา่ เทียม” นอกจากนี้ ยังมีผใู้ หค้ วามหมายของการพฒั นาทยี่ ่ังยืนไว้อีกหลายความหมาย ดงั นี้ การพัฒนาแบบย่ังยืน หมายถึง วิถีการพัฒนาท่ีสามารถตอบสนองความต้องการของคน รุ่นปัจจุบัน โดยไม่ลิดรอนความสามารถในการตอบสนองความต้องการของคนรุ่นหลัง” เป้าหมาย สูงสุดของแนวคิดนี้อยู่ท่ีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรโลก โดยยังสามารถรักษาระดับการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย์ไม่ให้เกินศักยภาพการผลิตของธรรมชาติ และมุ่งเน้นความสมดุล ระหว่างสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ แทนที่จะยึดเป้าหมายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็น หลกั เหมอื นวิถกี ารพัฒนาทั่วไป (Salforest, 2556) การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาที่บรรลุความ ต้องการในการดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันโดยต้องไม่ทำให้ความสามารถในการท่ี จะบรรลุความ ตอ้ งการในการดำรงชีวติ ของอนชุ นในอนาคตลดลง (นงนภสั ค่วู รญั ญู เทย่ี งกมล, 2554) Sustainable Development คือ รูปแบบการพัฒนาท่ีเน้นเป้าหมายไปทางด้านความ ย่ังยืน ไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม หรือส่งผลน้อยที่สุด ดังที่ระบุข้างต้นว่าเราได้รับ บทเรียนมามากเกินพอแล้วและหลายอย่างมันเป็นปัญหาระยะยาว ท้ังภาวะโรคร้อน ความอดอยาก ไปจนถึงการคอรปั ช่ัน การพัฒนาในท่ีนี้ไม่ใช่กล่าวถึงเพียงแค่ภาครัฐ โครงการใหญ่ ๆ ท่ีก่อให้เกิดการ เปล่ียนแปลงทางสังคมเท่าน้ัน แต่ยังรวมถึงภาคเอกชน และธุรกิจต่าง ๆ ท่ีมีบทบาทในการขับเคลื่อน สังคมและเศรษฐกิจร่วมกัน เพราะสังคมจะสามารถเปล่ียนไปในแนวทางที่ย่ังยืนได้อย่างแท้จริง เราตอ้ งมีการเกอื้ หนุนกนั จากทกุ ฝา่ ย ไมใ่ ชฝ่ า่ ยหน่งึ ฝา่ ยใด

6-6 การพัฒนาอย่างย่ังยืนที่สำเร็จลุล่วงน้ัน นอกจากจะช่วยให้ส่ิงแวดล้อมดีขึ้นแล้ว ยังช่วย ลดปัญหาด้านความเหล่ือมล้ำ ปัญหาด้านกฎหมายและศีลธรรม ขึ้นอยู่กับว่าการพัฒนาเหล่านั้นจะ เกิดขนึ้ กับภาคส่วนใด และช่วยสังคมด้านใดได้บ้าง (Expresso, 2562) การพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development) หมายถึง การพฒั นาทตี่ อบสนองต่อ ความต้องการของคนในรุ่มปัจจุบันโดยไม่ทำให้คนในรุ่นอนาคตต้องประนีประนอมยอมลดทอน ความสามารถในการท่ีจะตอบสนองความต้องการของตนเอง Sustainable Development Is Development That Meets To Needs Of The Present Without Compromising The Ability Of The Future Generations To Meet Their Own Needs” (WCED. 1987) การพัฒนาที่ย่ังยืนรวมความถึง 3 ด้าน คือเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซ่ึงความ เช่ือมโยงและความสัมพันธ์กันโครงการพัฒนาใด ๆ ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบท้ัง 3 ดา้ นน้ี การพัฒนา ท่ยี งั่ ยนื เป็นอะไรท่ีไกลกวา่ เพียงการอนรุ กั ษส์ ่งิ แวดลอ้ ม เปน็ การเปล่ยี นโครงสรา้ งระบบ เศรษฐกิจและ สังคมเพื่อลดการบรโิ ภคทรพั ยากรและส่งิ แวดล้อมลงไปในระดบั ทยี่ งั รักษาความ สมดุลท่ีดีทำให้คนอยู่ รว่ มกับธรรมชาติโดย ไม่ทำลายล้างอย่างท่ีผ่านมา และยังทำกันอยู่หลายแห่ง ให้อยู่ร่วมกนั เป็นชุมชน อย่ดู กี ินดีและอย่เู ยน็ เปน็ สขุ (สุทธิดา ศริ ิบุญหลง, 2554) ประเทศไทยได้นำแนวคดิ ของการพัฒนาอย่างย่ังยืนมาเป็นกระแสหลักในการพฒั นาประเทศใน ปี พ.ศ. 2535 หลังจากท่ีมีการเข้าร่วมการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยเรื่อง “สิ่งแวดล้อมและการ พัฒนา” (The United Nations Conference on Environment and Development : UNCED) ณ กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ซ่ึงได้มีการรับรองแผนปฏิบัติการ 21 หรือ “Agenda 21” ซึง่ เปน็ หนงึ่ ในผลจากการประชมุ หลังจากการประชุมท่ีเมืองบราซิล ประเทศไทยก็ได้กำหนดยุทธศาสตร์เพ่ือการพัฒนา ประเทศเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืนและเป็นผลให้ประเทศ ไทยได้นำเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้วิสัยทัศน์ สำหรับการพัฒนาในอีก 20 ปี ข้างหน้า ซ่ึงจุดเน้นในการแก้ไขปัญหาความยากจนและยกระดับชีวิต ของคนส่วนใหญ่ให้เกิด การพัฒนาที่ย่ังยืนและความอยู่ดีมีสุขของคนไทย โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงเป็นหลักการในการทำงาน เพื่อให้เอ้ือต่อการเปลี่ยนแปลงระบบบริหารจัดการประเทศที่มุ่งสู่ ประสิทธิภาพและคณุ ภาพให้สามารถกา้ วทันโลก ในรูปของเศรษฐกิจที่มีความสมดลุ พอประมาณอยา่ ง มเี หตุผล สร้างภูมิคมุ้ กัน ก้าวทันโลก เสริมสรา้ งจิตใจให้คนมีคุณธรรมและมีความซื่อสัตยส์ ุจริตซึ่งเป็น หลักท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้พัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนมาโดยตลอดในรูปแบบ การพฒั นาการเกษตรที่เรียกว่าทฤษฎีใหม่เพ่ือรับกับผลกระทบวิกฤตริ ะยะสน้ั และผอ่ นคลายปัญหาใน ระยะยาวได้ (เฉลมิ เกียรติ แก้วหอม, 2555)

6-7 การพัฒนาท่ียั่งยืนกลายเป็นวาระหลักของการพัฒนา โดยเฉพาะเมื่อสหประชาชาติได้ ประกาศ “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” หรือ Sustainable Development Goals (SDGs) 17 เป้าหมาย เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการกำกับดูแลการพัฒนาของโลกระหว่างปี 2016 - 2030 และ ประเทศไทยก็เป็นหน่ึงในประเทศท่ีได้ลงนามร่วมกบั ภาคีสมาชิก ในการรับรองฉนั ทามติเป้าหมายการ พัฒนาและเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนของสหประชาชาติถูกผูกโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 และกำหนดอยู่ในรัฐธรรมนูญ ตามมาตรา 65 ที่ กำหนดให้ยุทธศาสตร์ต้องมีการบรรจุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน ซึ่งมีการเชื่อมโยงท้ัง 30 เป้าประสงค์กับยุทธศาสตร์ชาติ มีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ถึง 8 ยุทธศาสตร์ โดยจะสอดคล้องมาก ในยุทธศาสตร์ที่ 1 ว่าด้วยการเสริมสร้างและพัฒนา ศักยภาพทุนมนุษย์ และยุทธศาสตร์ที่ 4 ว่าด้วยการเติบโตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ ยงั่ ยนื 6.1.2 ความยั่งยนื และการเป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม ปัญหาสิ่งแวดล้อมโลกมีสาเหตุใหญ่เกิดข้ึนจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) สภ าวะโลกร้อน (Global Warming) และป รากฏ การณ์ เรือน กระจก (Greenhouse Effect) ซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อทุกประเทศในโลก ในชว่ ง 2-3 ทศวรรษที่ผ่าน มาประเทศต่าง ๆ ได้ประสบกับภัยพิบัติ ด้านภูมิอากาศ เช่น ภัยแล้ง น้ำท่วม พายุ คล่ืนความร้อน และไฟปา่ เพิ่มข้ึน เหตุการณ์เหล่านโ้ี ดยมาก เปน็ ผลมาจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และอาจ นำไปสู่การเปล่ียนแปลงระบบนิเวศของโลก ข้ึนเร่ือย ๆ กิจกรรมมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในขณะที่ประชากรโลกเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว ปัญหาความแออัดของ ประชากรต่อหน่วยพื้นท่ี ก่อให้เกิดปัญหาจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การขาดแคลนพลังงานและ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ีเ่ สอ่ื มถอย จากการตดั ไม้ทำลายป่า ทำลายสมดุลธรรมชาตอิ ันเปน็ แหล่งผลิตกา๊ ซ ออกซิเจน และยังเป็นตวั ช่วยในการดูดซับก๊าซเรือนกระจก เนื่องจากปริมาณความต้องการใช้พลังงาน เพิ่มสูงข้ึนตามจำนวนของประชากรโลก ประกอบกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ทำให้ความต้องการใช้พลังงานในทุกด้านเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว การเพ่ิมขึ้นของก๊าซเรือนกระจก ในชัน้ บรรยากาศ ทำให้โลกร้อนมากยิง่ ข้ึนส่งผลกระทบต่อสภาพภูมอิ ากาศ และโอกาสที่ภัยธรรมชาติ จะเกิดขึ้นในมุมต่าง ๆ ของโลก ซึ่งปัญหาการปล่อยก๊าซต่าง ๆ ซ่ึงมีผลต่อการปรากฏการณ์เรือน กระจก ซ่ึงมีผลต่อการเปล่ียนสภาวะภูมิอากาศ ท่ัวโลกจึงมีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) \"เพ่ือให้บรรลุถึงการรักษาระดับความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศให้คงที่ อยใู่ นระดบั ท่ปี ลอดภยั จากการแทรกแซงของมนษุ ย์ท่เี ปน็ อันตรายต่อระบบภมู ิอากาศ การรักษาระดับ

6-8 ดังกล่าว ต้องดำเนินการในระยะเวลาเพียงพอท่ีจะให้ระบบนิเวศปรับตัว โดยไม่คุกคามต่อการผลิต อาหารของ มนุษย์และการพัฒนาทางเศรษฐกิจเป็นไปอย่างยัง่ ยนื \" แนวคิดของการผลิตและการบริโภคอย่างยั่งยืนจึงเป็นหลักแนวคิดที่สำคญั ในการพัฒนา ท่ียั่งยืนเป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจากกระบวนการผลิตท่ีใช้ เทคโนโลยีสะอาด ลดปริมาณของเสีย ไม่ทำลายสภาพแวดล้อมและไม่สร้างมลพิษที่จะกลายมาเป็น ต้นทุนการผลิตในระยะต่อไปและเป็นข้อจำกัดของการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างมีประสิทธิภาพในระยะ ยาว โดยมีเง่ือนไข คือ กระบวนการผลิตและการบริโภคที่มีประสิทธิภาพ และไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เน้น 2 ประการ ดังน้ี การผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน (Sustainable Consumption and Production) เป็นการผลิต และการบริโภคท่ีสามารถเพิ่มข้ึนได้อย่างต่อเนื่องในระยะยาว โดยท่ีกิจกรรมทาง เศรษฐกิจในปัจจุบันไม่สร้างข้อจำกัดต่อกิจกรรมการผลิตและการบริโภคในอนาคต ซ่ึงจำเป็นต้องมี การประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมจากการเปล่ียนแปลงรูปแบบการผลิตและพฤติกรรม การบริโภคอย่างเหมาะสม การขยายตัวทางเศรษฐกิจภายใต้ขดี จำกัดของทุนทางธรรมชาติท่ีจะต้องมี การสงวนรกั ษาไวใ้ ช้ ประโยชนส์ ำหรบั คนรนุ่ ปัจจบุ ันและรุ่นอนาคต การบริโภคที่ย่ังยืน จึงประกอบด้วย รูปแบบการใชพ้ ลังงาน/แร่ธาตุ/การใช้ยานพาหนะ ที่เหมาะสมมีประสิทธิภาพและประหยัด มีการเลือกใช้สินค้าและบริการโดยกระบวนการผลิตที่ไม่ ทำลายสภาพแวดล้อม วัตถุดิบหรือองค์ประกอบของสินค้าและบริการไม่เป็นพิษต่อส่ิงแวดล้อม และ การลดของเสียหรอื กากจากการบริโภค การผลิตที่ยั่งยืน เป็นการเลอื กใช้วัตถดุ ิบที่ไม่เป็นกากของเสียที่ทำลายสิ่งแวดล้อม การ ใช้วัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพและไม่ส้ินเปลืองจากการพัฒนาเทคโนโลยีและ ทรัพยากรมนุษย์ให้มี ประสิทธิภาพมากข้ึนและการเลือกใช้เทคโนโลยีที่สะอาด และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงการ บรหิ ารจัดการกระบวนการผลติ ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่อื เพมิ่ ประสิทธิภาพกระบวนการผลิต ในสภาพปัจจุบัน ปัญหาการรับรู้ในด้านการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อม โดยเฉพาะประเด็น ในเรื่องการผลิตและบรโิ ภคท่ียั่งยืนในภาคประชาชนยังประสบปัญหา ความเข้าใจที่ถูกต้องและยังขยายองค์ความรู้ที่ชัดเจนในวงที่จำกัด จึงทำให้เป็นสาเหตุหน่ึงในการ ขบั เคลื่อนเป็นไปได้ช้าและ มีอุปสรรคปัญหา ดังน้นั การให้การศกึ ษาเพ่ือใหเ้ กิดความเข้าใจและความ ตระหนกั ต่อการดำเนนิ กจิ กรรมด้านการผลิตและบริโภคเปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ มจะเป็นแนวทางหนึ่งใน การบรรเทาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ต่อสาธารณชนท่ัวไป และเปิดกว้าง การรับรู้ในการพัฒนาสูก่ ารเมืองท่ีเป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม เพื่อสร้างคุณภาพส่ิงแวดล้อม ทด่ี ี ลดมลพิษขยะมูลฝอยชุมชนได้รบั การจัดการอย่างถกู ต้องและนำไปใช้ประโยชน์ และลดผลกระทบ ตอ่ สขุ ภาพของประชาชนและระบบนิเวศ (สำนักพฒั นานวัตกรรมการศึกษา, 2563)

6-9 ตัวอย่างเช่น GreenFields เอเชีย (2564) เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม การคำนึงถึง ส่ิงแวดล้อมเป็นส่วนสำคัญของการดำเนินธุรกิจและกลยุทธ์ของ GreenFields นับต้ังแต่การพัฒนา ผลติ ภัณฑ์ การผลิตและการตดิ ตงั้ ไปจนถงึ การรีไซเคลิ ระบบสนามหญา้ เทียม ความยั่งยนื คือหัวใจของ ทุกส่ิง ไม่เพียงแต่ลดการใช้ทรัพยากรท่ีไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้เท่านั้น แต่เรายังสร้าง ประสิทธภิ าพในกระบวนการผลติ และพัฒนาผลติ ภัณฑ์ท่สี ามารถใชแ้ ละรีไซเคลิ ได้ กระบวนการท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คือ 1. การใช้วัสดุในท้องถ่ินให้มากท่ีสุด เพ่ือไม่ให้เกิดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม เราใช้วัสดุ ในทอ้ งถิ่น 2. ให้ธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจ เรามุ่งม่ันในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ียั่งยืนและมี นวตั กรรม 3. รไี ซเคิลได้ 100% เราทุ่มเทกับงานวิจยั พื้นสนาม กฬี าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม และ กลุ่มผลติ ภณั ฑแ์ บบทอของเรา สามารถรีไซเคลิ ได้ทง้ั หมด 4. การผลิตท่ีมีประสิทธิภาพ โรงงานผลิตของเราถูกออกแบบมาตรงมาตรฐานสูงสุด ด้านส่งิ แวดลอ้ ม 6.1.3 การประชมุ สุดยอดวา่ ด้วยการพัฒนาอย่างยั่งยนื การประชุมสุดยอดของโลก (Earth Summit, Rio Conference) หรือ การประชุม สหประชาชาติว่าด้วยเรื่องสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (UN Conference on Environment and Development; UNCED)\" พ.ศ. 2535 กรุงริโอ เดอ จาเนโร สหพนั ธส์ าธารณรฐั บราซลิ วัตถุประสงค์ของการประชุมเพ่ือกำหนดยุทธศาสตร์ว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา ซง่ึ นบั เปน็ การประชุมคร้ังแรกท่ีได้กำหนดแนวทางการแก้ปัญหาส่ิงแวดลอ้ มที่จะต้องดำเนินการพัฒนา ใหค้ รอบคลุม 3 เสาหลักของการพฒั นาที่ย่ังยนื คือ สงั คม เศรษฐกจิ และส่ิงแวดล้อม ท่ีประชุมได้มีมติให้จัดตั้งคณะกรรมาธิการว่าด้วยการพัฒนาที่ย่ังยืน (Commission on Sustainable Development; CSD) ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 53 ประเทศ รับผิดชอบเร่ืองการ พัฒนาที่ย่ังยืน และติดตามกำหนดแนวทางในการนำผลการประชุม WSSD ไปปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม โดย CSD จะรายงานผลต่อสมัชชาสหประชาชาติ (UN. General Assembly) โดยผ่านคณะมนตรี เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งสหประชาชาติ (Economic and Social Council - ECOSOC) ท่ปี ระชมุ ได้ใหก้ ารรับรองเอกสาร 3 ฉบับและอนุสัญญา 2 ฉบับ ไดแ้ ก่ 1. ปฏิญ ญ าริโอ (Rio Declaration on Environment and Development) เป็น หลักการเกี่ยวกับสิทธิและความรับผิดชอบของสหประชาชาติใน การดำเนินงานพัฒนาเพื่อปรับปรุง คุณภาพชีวิตของประชาชน

6-10 2. แถลงการณ์เกี่ยวกับหลักการด้านป่าไม้ (Statement of Forest Principle) เป็น แนวทางสำหรบั การจัดการทรัพยากรปา่ ไม้อย่างย่งั ยืน 3. แผนปฏิบัติการ 21 (Agenda 21) เพ่ือเป็นแผนแม่บทของโลกในการดำเนินงานเพ่ือ การพัฒนายง่ั ยืน ท้ังทางสังคม เศรษฐกจิ และส่งิ แวดล้อม 4. อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไทยให้สัตยาบัน เมื่อวันที่ 28 ธนั วาคม 2537 5. อนสุ ญั ญาวา่ ด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ไทยให้สตั ยาบันเมอ่ื วันท่ี 29 มกราคม 2547 (กรมควบคุมมลพษิ , 2564) ในการประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยสามัญ ครั้งที่ 70 ณ สำนักงานใหญ่ สหประชาชาติ นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ชาติสมาชิก 193 ประเทศ ได้ใช้เวทีการประชุม สุดยอดการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Summit) รับรองวาระการพัฒนาท่ียั่งยืน ค.ศ.2030 (The 2030 Agenda for Sustainable Development) ซึ่งรมถึงเป้าหมายการพัฒนา อย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals) 17ข้อ เมื่อวันท่ี 25 กันยายน พ.ศ. 2558 โดยท่ี วาระการพัฒนาที่ย่ังยืน ค.ศ. 2030 และเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนจะเป็นทิศทางการพัฒนาทั้งของ ไทยและของโลกตอ่ จากนี้ เป้าหมายการพั ฒ นาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals) 17 ข้อ (ดังภาพท่ี 6.1) ไดแ้ ก่ 1. ขจดั ความยากจนในทุกรูปแบบ ทกุ ท่ี 2. ขจัดความหิวโหย บรรลุเป้าความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการท่ีดีข้ึน และ สง่ เสรมิ เกษตรกรรมย่งั ยนื 3. ทำให้แน่ใจถึงการมสี ุขภาวะในการดำรงชีวิต และส่งเสรมิ ความเป็นอยูท่ ี่ดีของทุกคน ในทกุ ช่วงอายุ 4. ทำให้แน่ใจถึงการไดร้ ับการศึกษาที่ได้คุณภาพอย่างเท่าเทียมและท่ัวถงึ และส่งเสริม โอกาสในการเรียนรตู้ ลอดชีวิตแก่ทกุ คน 5. บรรลถุ ึงความเท่าเทียมทางเพศ และเสริมสร้างพลงั ให้แกส่ ตรีและเดก็ หญงิ ทุกคน 6. ทำให้แน่ใจว่าเรื่องน้ำและการสุขาภิบาลได้รับการจัดการอย่างย่ังยืนและมีสภาพ พรอ้ มใชส้ ำหรบั ทุกคน 7. ทำให้แน่ใจว่าทุกคนสามารถเข้าถึงพลังงานที่ทันสมัย ยั่งยืน เชื่อถือได้ ตามกำลังซื้อ ของคน 8. สง่ เสรมิ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ ทยี่ ั่งยืนและท่ัวถงึ ใหเ้ ปน็ ไปอย่างยง่ั ยนื ส่งเสริม ศกั ยภาพการมีงานทำและการจ้างงานเตม็ ทแ่ี ละงานท่ีมีคณุ ค่าสำหรับทุกคน

6-11 9. พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานที่พร้อมรับการเปล่ียนแปลง ส่งเสริมการปรับตัวให้เป็น อตุ สาหกรรมอยา่ งยง่ั ยืนและทัว่ ถงึ และสนบั สนนุ นวตั กรรม 10. ลดความเหลอื่ มล้ำทัง้ ภายในและระหวา่ งประเทศ 11. ทำให้เมืองและการตั้งถ่ินฐานของมนุษย์มีความปลอดภัย ทั่วถึง พร้อมรับการ เปล่ียนแปลงและยง่ั ยืน 12. ทำให้แน่ใจถงึ การมแี บบแผนการผลิตและการบริโภคที่ยัง่ ยนื 13. ดำเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ ผลกระทบที่เกดิ ขึน้ 14. อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเล และทรพั ยากรทางทะเลสำหรับการ พฒั นาทย่ี ั่งยืนใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งยง่ั ยนื 15. พิทกั ษ์ บูรณะและสง่ เสรมิ การใช้ประโยชนท์ ยี่ ั่งยนื ของระบบนเิ วศบนบก จดั การป่า ไม้อย่างย่ังยืน ต่อสู้กับการแปรสภาพเป็นทะเลทราย หยุดย้ังและฟ้ืนฟูความเส่ือมโทรมของที่ดิน และ หยดุ ยง้ั การสญู เสยี ความหลากหลายทางชีวภาพ 16. สง่ เสริมให้สังคมมคี วามเปน็ ปกตสิ ุข ไมแ่ บ่งแยกเพอ่ื การพัฒนาที่ยั่งยืน มีการเข้าถึง ความยุติธรรมโดยถว้ นหนา้ และสร้างให้เกดิ สถาบันอันเป็นทพี่ ึ่งของส่วนรวม มปี ระสิทธิผล และเป็นที่ ยอมรับในทกุ ระดบั 17. เสริมสร้างความเข้มแข็งในวิธีการปฏิบัติให้เกิดผล และสร้างพลังแห่งการเป็น หุ้นสว่ นความรว่ มมอื ระดบั สากลตอ่ การพัฒนาทย่ี ่ังยนื

6-12 ภาพท่ี 6.1 แสดงเปา้ หมายการพฒั นาอย่างย่งั ยนื ขององค์การสหประชาชาติ จำนวน 17 เป้าหมาย (Goals) เอกสารวาระการพัฒนาทยี่ ั่งยืน ค.ศ.2030 (The 2030 Agenda for Sustainable Development) จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือมุ่งขจัดความยากจนในทุกมิติและทุกรูปแบบ สาน ต่อภารกิจท่ียังไม่บรรลุผลสำเร็จภายใต้เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDGs) และเน้นการ พัฒนาท่ีสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการพัฒนาที่ย่ังยืนใน 3 มิติท่ีเอ้ือต่อ กนั และแบง่ แยกมไิ ด้ สาระสำคญั ของเอกสารฉบบั น้ี ประกอบด้วยสว่ นทเี่ ปน็ อารัมภบท ปฏิญญา เป้าประสงค์ การพัฒนาที่ยั่งยืนและเป้าหมาย กลไกการดำเนินงาน การติดตามและทบทวนผล ในส่วนท่ีเป็น อารมั ภบท (Preamble) เป็นการสื่อสารวาระการพัฒนา ค.ศ.2030 โดยกล่าวถึงการขจัดความยากจน และการพัฒนาที่ย่ังยืน ภายใต้หลักการ 5 Ps ได้แก่ ประชาชน (People) โลก (Planet) ความม่ังค่ัง (Prosperity) สนั ตภิ าพ (Peace) และความเปน็ หนุ้ สว่ น (Partnership) ในส่วนที่เป็นปฏิญญา (Declaration) กล่าวถึงวิสัยทัศน์ของวาระการพัฒนา ค.ศ. 2030 และความมุ่งม่นั ในการขจดั ความยากจนในทุกมติ ิและทุกรูปแบบบนพื้นฐานของการเคารพ สทิ ธมิ นุษยชนและกฎหมายระหว่างประเทศ

6-13 ในส่วนท่ีเป็นเป้าประสงค์การพัฒ นาที่ย่ังยืนและเป้าหมาย (Sustainable Development Goals and Targets – SDGs & Targets) ประกอบด้วยเป้าประสงค์ (Goals) 17 ขอ้ และเป้าหมาย (Targets) 169 ข้อ ครอบคลุมการพัฒนาท่ียงั่ ยืนในทั้ง 3 มติ ิ ในส่วนท่ีเป็นกลไกการดำเนินงาน (Means of Implementation – MoI) และ หุ้นส่วนระดับโลก (Global Partnership) กล่าวถึงความร่วมมือระหว่างประเทศพัฒนาแล้วกับ ประเทศกำลังพัฒนา โดยครอบคลุมการระดมทุนจากภาครัฐภายในประเทศ การระดมทุนจาก ภาคเอกชนท้ังในและนอกประเทศ การให้ความช่วยเหลือเพ่ือการพัฒนาอย่างเป็นทางการ (Official Development Assistance - ODA) การเสริมสร้างขีดความสามารถและการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ เป็นมติ รตอ่ ส่ิงแวดล้อม โดยเนน้ บทบาทการมสี ่วนร่วมของผ้มู ีส่วนได้เสยี ในทุกภาคส่วน ในส่วนที่เป็นการติดตามและทบทวนผล (Follow-Up and Review) กล่าวถึงการ ติดตามความก้าวหน้า ความสำเร็จ ความท้าทาย และช่องว่างในการดำเนินงาน โดยมีการทบทวน ความคืบหน้าอย่างสม่ำเสมอและท่ัวถึงในทุกระดับ ทั้งในระดับชาติ โดยส่งเสริมให้ใช้เครื่องมือทาง นโยบายท่ีมีอยู่ อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รวมถึงการติดตามผลในระดับท้องถ่ิน ในระดับภูมภิ าค โดยให้ประเทศในภูมิภาคหารือร่วมกนั และระบุถึงกลไกที่เหมาะสม โดยอาจใช้กลไก ที่มีอยู่แล้วในภูมิภาค และในระดับโลก โดยใช้เวทีการหารือทางการเมืองระดับสูง (High-Level Political Forum – HLPF) ภายใตค้ ณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมในกรอบสมัชชาสหประชาชาติเป็น เวทีหลักซึ่งมีการประชุมประจำทุกปี และจะมีการประชุมติดตามและทบทวนผลระดับโลกในระดับ ผู้นำคร้ังแรกในปี ค.ศ. 2019 นอกจากน้ี ในเอกสารวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ฉบับดังกล่าว ยังเน้นย้ำถึง ความสำคัญของการพัฒนาขีดความสามารถของระบบการจัดเก็บสถิติในประเทศกำลังพัฒนาเพ่ือ สง่ เสรมิ การบรรลวุ าระการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ด้วย (สถาบันไทยพฒั น์, 2564) 6.2 หลกั การและแนวคิดการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งยัง่ ยืน แนวการใช้ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมอยา่ งผิดหลักอนุรักษ์วิทยาก่อให้เกิดการสูญเสีย ทรพั ยากรอย่างไมค่ ุ้มค่า รวมท้ังการเกิดปัญหามลพิษซึ่งเป็นปัญหาระดับโลก ดังนน้ั การแกไ้ ขปญั หาท่ี เกดิ ขนึ้ จงึ ต้องใชศ้ าสตร์ ในทุกสาขาท่เี กยี่ วขอ้ งมาประยุกตใ์ ช้ แนวคิดในการใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืนเป็นผลสืบมาจากการเกิดสภาวะความเส่ือม โทรมของทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ที่นับวันจะทวีความรุนแรงและส่งผลกระทบต่อคนเรา เพมิ่ มากข้นึ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งหลังจากทีอ่ งคก์ ารสหประชาชาตไิ ด้

6-14 การใช้ทรัพยากรเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน หมายถึง การนำทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มาใช้พัฒ นาคุณ ภ าพ ชีวิตของมนุษย์ เพื่ อให้มีมาตรฐานคุณ ภ าพ ชีวิตที่ดี โดยไม่ทำให้ ทรัพยากรธรรมชาตหิ รือสิ่งแวดลอ้ มนน้ั ดว้ ยประสิทธภิ าพลง หรอื กระทบกระเทอื นต่อคนร่นุ หลงั แนวทางในการปฏบิ ตั ิทจี่ ะนำไปสู่การพัฒนาทย่ี งั่ ยนื 1) ประชาชนและภาครัฐต้องช่วยกันควบคุมปล่อยของเสียท่สี ร้างขึ้นให้ออกสูธ่ รรมชาติ น้อยลง 2) ประชาชนและภาครัฐต้องรู้จักวิธกี ารใชท้ รพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 3) ประชาชนทุกคนต้องเกิดจิตสำนึกร่วมกัน โดยการปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการบรโิ ภค ทรัพยากรธรรมชาติให้เหมาะสม 4) ภาครัฐควรวางมาตรการการกระจายรายได้ออกไปสู่ภาคประชาชนในทุกกลุ่มทุก อาชพี เพือ่ สรา้ งความมนั่ คงทางเศรษฐกิจ 5) ภาครัฐควรวางมาตรการในการควบคุมอัตราการเพม่ิ ของจำนวนประชากร นโยบายและวิธีการจัดการดา้ นทรพั ยากรเพ่อื การพัฒนาท่ยี ั่งยืนของรัฐบาลไทย โดยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 ได้น้อมนำหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญานำทางในการพัฒนาประเทศอย่างต่อเน่ืองจาก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 9-11 โดยการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 12 ครงั้ น้ี สำนักคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ (สคช.) ได้จัดทำบน พ้ืนฐานของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ซ่ึงเป็นแผนหลักของการพัฒนาประเทศ และเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) รวมท้ังการปรับ โครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 ตลอดจนประเด็นการปฏิรูปประเทศ นอกจากน้ันได้ให้ ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วน เพื่อร่วมกันกำหนดวิสัยทัศน์และทิศ ทางการพัฒนาประเทศ รวมท้ังร่วมจัดทำรายละเอียดยุทธศาสตร์ของแผนฯ เพ่ือมุ่งสู่ “ความมั่งคง มั่งค่งั และยงั่ ยนื ” ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศไว้ทั้งหมด 10 ยุทธศาสตร์ โดยมียุทธศาสตร์ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และอีก 4 ยุทธศาสตร์ทเี่ ป็นปัจจยั สนบั สนุน ดงั น้ี 1. การเสรมิ สรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพทุนมนษุ ย์ 2. ยทุ ธศาสตรก์ ารสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลือ่ มล้ำในสังคม 3. ยุทธศาสตรก์ ารสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อยา่ งย่งั ยนื 4. ยุทธศาสตรก์ ารเติบโตทเี่ ป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ มเพ่อื การพัฒนาที่ยั่งยืน

6-15 5. ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งค่ัง และย่ังยืน 6. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และ ธรรมาภบิ าลในสังคมไทย 7. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจสิ ติกส์ 8. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย และนวตั กรรม 9. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาภาค เมือง และพ้นื ทเ่ี ศรษฐกิจ 10.ยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างประเทศเพ่ือการพัฒนา (สำนักนายกรัฐมนตรี, 2560) ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี อนาคตประเทศไทย (พ.ศ. 2561-2580) ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นเป้าหมายในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพ่ือใช้ เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่างๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน อันจะก่อให้เกิดเป็นพลังผลักดัน รว่ มกนั ไปสเู่ ปา้ หมายดงั กล่าว ตามระยะเวลาท่ีกำหนดไวใ้ นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) อนั เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบบั แรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยซึง่ ต้องนำไปสู่ การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่ พัฒนาแลว้ ดว้ ยการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยการพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติจะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่าง การพัฒนาเศรษฐกิจ สงั คม และสงิ่ แวดล้อม โดยประกอบด้วย 6 ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ 1. ดา้ นความมน่ั คง มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสำคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการ บริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความม่ันคง ปลอดภัย มีเอกราช อธปิ ไตย และมีความ สงบเรียบร้อยในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เคร่ืองมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อม สามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุก รูปแบบและทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความม่ันคงท่ีมีอยู่ใน ปัจจุบันและที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทั้งกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรท่ีไม่ใช่รัฐ รวมถงึ ประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศท่ัวโลกบน พนื้ ฐานของหลกั ธรรมาภิบาล 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน การพัฒนาที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐาน แนวคดิ 3 ประการ ไดแ้ ก่

6-16 1) ต่อยอดอดีต โดยมองกลับไปท่ีรากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมท้ังความได้เปรียบเชิง เปรียบเทียบของประเทศในด้านอื่นๆ นำมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่ือให้ สอดรบั กบั บรบิ ทของเศรษฐกจิ และสังคมโลกสมยั ใหม่ 2) ปรับปัจจุบัน เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของ ประเทศในมิติต่างๆ ทั้งโครงขา่ ยระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดจิ ทิ ลั และการปรบั สภาพแวดล้อมใหเ้ อื้อต่อการพัฒนาอตุ สาหกรรมและบริการอนาคต 3) สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต ด้วยการเพ่ิมศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนา คนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับ ยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้งการส่งเสริม และสนับสนุนจากภาครัฐให้ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาส ทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการ เพิ่มขน้ึ ของคนชั้นกลางและลดความเหลื่อมลำ้ ของคนในประเทศได้ในคราวเดียวกัน 3. ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุข ภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวนิ ัย รกั ษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคดิ ทถี่ ูกต้อง มีทักษะที่จำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการ พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยคุ ใหม่ และอื่น ๆ โดยมสี มั มาชพี ตามความถนัดของตนเอง 4. ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีให้ความสำคัญกับการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท้องถ่ินมาร่วมขับเคล่ือน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของ ประชาชนในการรว่ มคิดร่วมทำเพ่ือส่วนรวม การกระจายอำนาจและความรับผดิ ชอบไปสู่กลไกบริหาร ราชการแผ่นดินในระดับท้องถ่ิน การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการ เตรียมความพร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็น ประชากรที่มคี ุณภาพ สามารถพ่ึงตนเองและทำประโยชน์แก่ครอบครวั ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรฐั ให้หลกั ประกันการเขา้ ถงึ บริการและสวสั ดกิ ารทีม่ ีคณุ ภาพอยา่ งเปน็ ธรรมและทว่ั ถงึ

6-17 5. ด้านการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตที่เปน็ มติ รต่อสง่ิ แวดล้อม มเี ป้าหมายการพฒั นาทส่ี ำคัญเพอื่ นำไปสูก่ ารบรรลเุ ป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยนื ในทุก มติ ิ ทั้งมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่าง กันทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พ้ืนท่ีเป็นตัวตั้งในการกำหนดกลยุทธ์และ แผนงาน และการให้ทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไป ได้ โดยเป็นการดำเนินการบนพ้ืนฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และ คุณภาพชีวิต โดยให้ความสำคัญกับการสร้างสมดุลทั้งสามด้าน อันจะนำไปสู่ความยั่งยืนเพ่ือคนรุ่น ต่อไปอย่างแท้จรงิ 6. ด้านการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสำคัญเพ่ือปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของ ประชาชน เพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาท ภารกิจ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐท่ีทำหน้าที่ในการกำกับหรือในการให้บริการยึดหลัก ธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการนำ นวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทำงานที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมท้ังมีลักษณะเปิดกว้าง เช่ือมโยงถึงกัน และเปิดโอกาส ให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปรง่ ใส โดยทุกภาคสว่ นในสังคมต้องรว่ มกันปลูกฝังค่านยิ มความซอื่ สัตย์สจุ ริต ความมธั ยัสถ์ และ สร้างจิตสำนึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างส้ินเชิง นอกจากน้ัน กฎหมาย ต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าท่ีจำเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนำไปสู่ การลดความเหลื่อมล้ำและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เปน็ ธรรม ไม่เลือกปฏบิ ัติ และการอำนวยความยุตธิ รรมตามหลกั นิติธรรม (สำนักงาน ป.ย.ป., 2562) 6.2.1 หลักการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน หมายถึง การนำเอาทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ เพื่อให้มีมาตรฐานของคุณภาพชีวิต โดยอาศัย ศักยภาพของทรัพยากรหรือส่ิงแวดล้อมน้ัน และเม่ือใช้แล้วจะต้องไม่ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติหรือ ส่ิงแวดล้อมนัน้ เกิดความด้อยประสิทธิภาพจนไม่สามารถให้ผลผลิตที่คุ้มค่า หรือคนรุ่นหลังไม่สามารถ นำศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมดังกล่าวมาใช้ประโยชน์ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีแนวความคิดหลักในการดำเนินงาน ดังนค้ี ือ

6-18 1. มุ่งหวังให้ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีประกอบกันอยู่ในระบบ ธรรมชาติมี ศักยภาพ ท่ีสามารถให้ผลิตผลได้อย่างยั่งยืน ถาวร และม่ันคง คือ มุ่งหวังให้เกิดความเพ่ิมพูนภายใน ระบบ ท่จี ะนำมาใช้ได้โดยไมม่ ีผลกระทบกระเทอื นต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มนั้น ๆ 2. ต้องมกี ารจัดองค์ประกอบภายในระบบธรรมชาติ หรือสิง่ แวดล้อมหรือระบบนิเวศให้ มีชนิด ปริมาณและสัดส่วนของทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม แต่ละชนิดเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานตามธรรมชาติเพอ่ื ให้อยใู่ นภาวะสมดลุ ของ ธรรมชาติ 3. ตอ้ งยึดหลกั การของอนรุ ักษ์วิทยาเปน็ พืน้ ฐาน โดยจะตอ้ งมีการรักษา สงวน ปรับปรุง ซ่อมแซม และพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติในทุกสภาพ ทั้งในสภาพท่ีดีตามธรรมชาติ ในสภาพที่กำลังมี การใช้ และในสภาพที่ทรดุ โทรมร่อยหรอ 4. กำหนดแนวทางปฏิบตั ิ ที่ชัดเจนในการควบคุม และกำจัดของเสีย มใิ ห้เกดิ ข้ึนภายใน ระบบธรรมชาติ รวมไปถึงการนำของเสียน้นั ๆ กลับมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง 5. ตอ้ งกำหนดแนวทางในการจัดการ เพ่ือให้คุณภาพชีวิตของมนุษย์ดีข้ึน โดยพิจารณา ถงึ ความเหมาะสม ในแต่ละสถานที่ และแตล่ ะสถานการณ์ จากแนวคิดดังกล่าว เน่ืองจากทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมน้ัน มีหลายชนิด และแต่ละชนิด ก็มีคุณสมบัติ และเอกลักษณ์ที่เฉพาะตัว ดังน้ัน เพ่ือให้การจัดการสามารถบรรลุ เป้าหมายของแนวคิด จึงควรกำหนดหลักการจัดการ หรือแนวทางการจัดการให้สอดคล้องกับชนิด คณุ สมบัติ และเอกลกั ษณ์เฉพาะอยา่ งของทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ มนนั้ ๆ ดังนี้ ทรัพยากรหมุนเวียน หรือทรัพยากรทใี่ ช้ไมห่ มดสิ้น เป็นทรัพยากรท่ีมีอยู่ใน ธรรมชาติอย่างมากมาย อาทิเช่น แสงอาทิตย์ อากาศ และน้ำ ในวัฏจักร ทรัพยากรประเภทนี้ มีความจำเป็นต่อร่างกายมนุษย์และส่ิงมีชีวิตอย่างอ่ืน ถ้าขาดแคลน หรือมีส่ิงเจือปน ทั้งที่เป็นพิษ และไม่เป็นพิษ ก็จะมีผลต่อการเจริญเติบโต และศักยภาพในการผลิต ของทรัพยากรธรรมชาติน้ันการจัดการจะต้องควบคุมการกระทำที่จะมีผลเสีย หรือเกิดสิ่งเจือปนต่อ ทรัพยากรธรรมชาติ ต้องควบคุม และป้องกัน มิให้เกิดปัญหามลพิษจากขบวนการผลิต ทง้ั การเกษตร อุตสาหกรรม ที่จะมีผลต่อทรัพยากรประเภทน้ี รวมทั้งการให้การศึกษาแก่ประชาชน ทั้งผลดี-ผลเสีย ของการปนเปื้อน วิธีการควบคุม และป้องกัน รวมทั้งต้องมีกฎหมายควบคุมการกระทำ ที่จะมีผลต่อ ทรพั ยากรธรรมชาตปิ ระเภทนีด้ ว้ ย ทรัพยากรทดแทนได้ เปน็ ทรัพยากร ธรรมชาตทิ ่ีใช้แลว้ สามารถฟื้นคืนสภาพได้ ทั้งในระยะส้ัน และระยะยาว ซึ่งได้แก่ ป่าไม้ มนุษย์ สัตว์ป่า พืช ดิน และน้ำ ทรัพยากรประเภทนี้ มักจะมีมาก และจำเป็นอย่างย่ิง ต่อมนุษย์และส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ มนุษย์ต้องการใช้ทรัพยากรน้ีตลอดเวลา เพื่อปัจจัยส่ี การเก็บเกี่ยว ผลประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติชนิดนี้ หรือการนำมาใช้ประโยชน์ ควรนำมาใช้เฉพาะส่วนท่ี

6-19 เพิ่มพูนเทา่ นน้ั หรอื อีกนยั หนงึ่ แนวคิดน้ถี ือวา่ ฐานของทรพั ยากรธรรมชาติทีม่ ีอยู่ เปรียบเสมือนต้นทุน ที่จะได้รับผลกำไร หรือดอกเบี้ยรายปี โดยส่วนกำไร หรือดอกเบี้ยน้ีก็คือ ส่วนที่เราสามารถนำมาใช้ ประโยชนไ์ ดน้ ่นั เอง การจัดการจะต้องจดั ให้ระบบธรรมชาติ มีองค์ประกอบภายในที่มีชนดิ และปริมาณท่ีได้ สัดส่วนกัน การใช้ต้องใช้เฉพาะส่วนท่ีเพิ่มพูน และต้องควบคุม และป้องกันให้สต๊อกหรือฐานของ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมน้ันๆ มีศักยภาพ หรือความสามารถในการให้ผลิตผล หรือส่วน เพ่ิมพูนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งในการใช้ หรือการผลิตของทรัพยากรธรรมชาตินั้น จะต้องใช้ เทคโนโลยที เี่ หมาะสม และยดึ หลักทางการอนุรักษว์ ิทยาดว้ ย ทรัพยากรท่ใี ชแ้ ลว้ หมดไป เป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ีใช้แล้วจะหมดไป ไม่สามารถเกิดข้ึนมาทดแทนได้ หรือถ้าจะ เกิดข้ึนมาทดแทนได้ ก็ต้องใช้เวลานานมาก และมักเป็นทรัพยากรท่ีมีความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจ ซ่งึ ได้แก่ น้ำมัน ปิโตรเลียม กา๊ ซธรรมชาติ และสินแร่ การจัดการทรัพยากรประเภทน้ี จะต้องเน้นการ ประหยัด และพยายามไม่ใหเ้ กิดการสญู เสีย ต้องใช้ตามความจำเปน็ หรอื ถ้าสามารถใช้วสั ดุอื่นแทนได้ ก็ควรนำมาใช้แทน รวมท้ังต้องนำส่วนที่เสียแล้ว กลับมาใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่าต่อไป (มูลนิธิโครงการ สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน, 2564) 6.2.2 เคร่อื งมือในการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม (EIA/EHIA/ISO) การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA) EIA เป็นเครื่องมือชนิดหน่ึงท่ีใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดความย่ังยืน โดยอาศัยหลักวิชาการในการคาดการณ์ หรือทำนายผลกระทบทั้งทางบวก และทางลบที่จะเกิดข้ึน จากการดำเนินโครงการพัฒนาต่าง ๆ ซึ่งจะมีผลต่อส่ิงแวดล้อมในทุก ๆ ด้าน ทั้งทางด้าน ทรพั ยากรธรรมชาติ เศรษฐกิจและสังคม เพื่อที่จะใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ป้องกันผลกระทบให้เกิดขึ้นน้อยท่ีสุด เป็นวิธีการอยา่ งหนึ่งที่ใช้เพื่อจำแนกและคาดคะเนผลกระทบท่ี คาดว่าจะเกิดขึ้นจากโครงการ/กิจกรรมตลอดจนเสนอแนะมาตรการในการแก้ไขผลกระทบ (Mitigation Measure) และแผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดล้อม (Monitoring Plane) ทั้งในระหว่างการก่อสร้างและดำเนินโครงการ การทำ EIA นั้นเป็นข้อบังคับตามกฎหมาย โดยเป็น เครอ่ื งมอื ในปอ้ งกนั และลดผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มในการพฒั นาโครงการต่าง ๆ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment ย่อว่า EIA) หมายถึง การประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาท่ีจะมีต่อสุขภาพของมนุษย์ หรือความ สมบรู ณข์ องส่งิ แวดล้อมทง้ั ทางบวกและทางลบ รวมท้ังความเสี่ยงทจี่ ะมีผลตอ่ สภาพความสมบูรณ์ของ ระบบนิเวศและการเปล่ียนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซ่ึงบางครั้งอาจนำไปสู่ภัยพิ บัติต่อ

6-20 ส่ิงแวดล้อมท่ีร้ายแรง การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมอาจนิยามได้ว่าเป็น \"กระบวนการเพ่ือการ บ่งชี้ ทำนาย ประเมิน และบรรเทาผลกระทบทางชีวภาพ สังคม และผลกระทบที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ท่ีมี ต่อขอ้ เสนอการพัฒนาใด ๆ กอ่ นท่จี ะมีการตดั สนิ ใจให้ลงมอื ดำเนินได้” วัตถปุ ระสงค์ของการจัดทำ EIA 1. เพื่อจำแนกและคาดการณ์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่อาจจะเกิดจากโครงการทั้งด้าน บวก และลบ 2. เพื่อป้องกันและแกไ้ ขผลกระทบทางลบ และปรับโครงการให้เหมาะสมกับสภาพพื้น ที่ตง้ั โครงการ ซ่ึงจะสามารถช่วยใหม้ ีทางเลอื กมาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขผลกระทบท่ีมคี ่าใช้จ่ายน้อย และ มคี วามเปน็ ไปไดใ้ นการปฏบิ ัตมิ ากกวา่ การแก้ไขท่ีจะดำเนินการภายหลงั 3. เปน็ แนวทางในการกำหนดแผนการตดิ ตามตรวจสอบผลกระทบตา่ ง ๆ 4. เป็นการนำเสนอข้อมูลหรือทางเลือกในการดำเนินโครงการแก่เจ้าของโครงการเพ่ือ ใช้ประกอบการวางแผนและตัดสินใจในการดำเนนิ โครงการ องคป์ ระกอบของ EIA การจดั ทำ EIA ประกอบด้วย การศกึ ษาครอบคลมุ ระบบส่งิ แวดล้อม 4 ดา้ น คือ 1. ทรัพยากรกายภาพ เป็นการศึกษาถึงผลกระทบ เช่น ดิน น้ำ อากาศ เสียง ว่า จะมีการเปล่ียนแปลงไปอยา่ งไร 2. ทรัพยากรชีวภาพ การศึกษาถึงการเปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆ ที่มีต่อระบบนิเวศ เช่น ป่าไม้ สัตวป์ า่ สัตวน์ ำ้ ปะการัง เปน็ ตน้ 3. คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ เป็นการศึกษาถึงการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ทั้งทางกายภาพและชีวภาพของมนษุ ย์ เชน่ การใช้ประโยชนท์ ่ีดิน 4. คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต ซึ่งจะเป็นการศึกษาถึงผลกระทบที่จะเกิดต่อมนุษย์ ชุมชน ระบบเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ วัฒนธรรมประเพณี ความเชอ่ื คา่ นิยม รวมถึงทัศนยี ภาพ คุณค่า ความสวยงาม (พรวิวาห์ กกึ ก้อง, 2564) การวเิ คราะห์ผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มและสุขภาพ (Environmental and Health Impact Assessment : EHIA) การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ เป็นหนึ่งในศาสตร์การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม (Environmental Assessment, EA) ดังน้ันจึงเก่ียวข้องกับการจำแนก คาดการณ์ และวิเคราะห์ ประเมินค่าความเป็นไปได้ของการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนต่อสุขภาพ ทั้งด้านบวกและด้านลบของการ พัฒนาโครงการ การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) หมายถึง การประเมินผล กระทบด้านสุขภาพในระดับโครงการซ่ึงครอบคลุมกระบวนการ วิธีการและเครื่องมือที่หลากหลายที่

6-21 ใช้เพ่ือการคาดการณ์ว่าโครงการจะก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงภาวะสุขภาพของประชาชนท่ีได้รับ ผลกระทบอย่างไร เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณากำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบและ ประกอบการตัดสินใจอนุมตั โิ ครงการ (World Health Organization, 2018) EHIA มาจากตัวย่อของ EIA และ HIA ซ่ึงเป็นการศึกษาถึงผลกระทบของส่ิงแวดล้อม และสุขภาพ ซ่ึง HIA จะเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาผลกระทบใน EIA โดย EIA เป็นตัวย่อมาจาก Environmental Impact Assessment ซึ่งหมายถงึ การประเมนิ ผลกระทบจากโครงการพฒั นาที่จะ มีต่อสุขภาพหรือความสมบูรณ์ของส่ิงแวดล้อมท้ังทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเส่ียงที่จะมีผลต่อ สภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซ่ึงบางครั้งอาจ นำไปสู่ภัยพิบัติต่อส่ิงแวดล้อมท่ีร้ายแรง การประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมีต่อสุขภาพ หรือความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมท้ังทางบวกและทางลบ รวมท้ังความเสี่ยงท่ีจะมีผลต่อสภาพความ สมบูรณ์ของระบบนิเวศและการเปล่ียนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่งบางคร้ังอาจนำไปสู่ภัยพิบัติ ตอ่ สง่ิ แวดล้อมที่ร้ายแรง (WRITER, 2013) ทั้งน้ี สำหรับโครงการท่ีอาจก่อให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพส่ิงแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต หรือส่วนได้เสียสำคัญอ่ืนใดของประชาชนหรือ ชุมชนหรือสิ่งแวดล้อม ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 48 วรรคสาม ผู้ดำเนินการ หรือผู้ขออนุญาตต้องประเมินผล กระทบด้านสุขภาพเพม่ิ ด้วย และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของ ผู้มีส่วนได้เสียและประชาชนและชุมชนท่ี เก่ียวข้อง โดยประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม เร่ือง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทำรายงานการ วเิ คราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อมสำหรับโครงการหรือ กิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง รุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2560 ได้กำหนดหลักเกณฑ์เพิ่มเติมว่าในการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการท่ีอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน อย่างรนุ แรงท้ัง ทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จะต้องมีการศึกษาครอบคลุม ปัจจัยท่ี อาจส่งผลกระทบต่อสขุ ภาพ ดงั ต่อไปนี้เปน็ อย่างนอ้ ย กลา่ วคอื 1. การเปล่ียนแปลงสภาพและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรที่ดิน ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรประมง ทรัพยากรป่าไม้ ความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากรแร่ธาตุ ทรัพยากรธรรมชาติอืน่ ๆ และระบบนิเวศ 2. การผลิต ขนส่ง และการจัดเก็บวัตถุอันตราย โดยจะต้องแจ้งประเภท ปริมาณ และ วธิ ดี ำเนนิ การ ของวตั ถุอนั ตรายทุกชนดิ

6-22 3. การกำเนิดและการปล่อยของเสียและสิ่งคุกคามสุขภาพ จากการก่อสร้าง จาก กระบวนการผลิต และกระบวนการอ่ืนใด ไม่วา่ จะเป็นขยะ กากของเสีย กากของเสียอันตราย น้ำเสีย ขยะตดิ เชอื้ ความรอ้ น มลสารทางอากาศ ฝ่นุ แสง เสยี ง กลนิ่ การสน่ั สะเทอื น และกัมมนั ตภาพรงั สี 4. การรับสัมผัสต่อมลพษิ และส่ิงคุกคามสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นเสน้ ทางการรับสมั ผัสเขา้ สู่ ร่างกาย เช่น โดยการหายใจ การรับประทาน การสัมผัสทางผิวหนัง เป็นต้น การรับสัมผัสของคนงาน หรือผู้ปฏิบัติงานใน โครงการหรือกิจการ การรับสัมผัสของประชาชนโดยรอบโครงการหรือกิจการ เป็นตน้ 5. การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่ออาชีพ การจ้างงาน และสภาพการทำงานใน ท้องถ่ิน ท้ังทางบวกและทางลบ เช่น ความเสี่ยงและอุบัติเหตุจากการทำงาน การเปล่ียนแปลงใน ระบบนิเวศ ทรัพยากร และห่วงโซ่อุปทานของสินค้าและบริการที่เป็นฐานการดำรงชีวิตหลักของ ประชาชนกลมุ่ ใดกลุ่มหนงึ่ ในพืน้ ที่ 6. การเปล่ียนแปลงและผลกระทบต่อความสัมพันธ์ของประชาชนและชุมชน ท้ังความสัมพันธ์ ภายในชุมชนและภายนอกชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอพยพของประชาชนและ แรงงาน การเพิ่ม/ลดพ้ืนท่ี สาธารณะของชุมชน และความขัดแย้งท่ีอาจจะเกิดข้ึนจากการดำเนิน โครงการหรือกจิ การดังกลา่ ว 7. การเปล่ียนแปลงในพ้ืนที่ท่ีมีความสำคัญหรือเป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรม เช่น ศาสนสถาน สถานทท่ี ่ีประชาชนสักการบูชา หรือสถานท่ีประกอบพธิ ีกรรมของชุมชนท้องถ่ิน พน้ื ท่ีที่มี ความสำคัญทาง ประวัติศาสตร์ และโบราณสถานสำคญั 8. ผลกระทบทเ่ี ฉพาะเจาะจงหรอื มคี วามรนุ แรงเปน็ พิเศษต่อประชาชนกลุ่มใดกลมุ่ หนึ่ง โดยเฉพาะ กลุ่มประชาชนที่มีความเปราะบาง เช่น เด็ก ผู้พิการ ผู้สูงอายุ พ่อแม่เลี้ยงเดี่ยว ชนกลุ่ม น้อย เป็นตน้ 9. ทรัพยากรและความพร้อมของภาคสาธารณสุข ทั้งในแง่ของการสร้างเสริม การป้องกัน การรักษา และการฟ้ืนฟูสุขภาพของประชาชน ท่ีอาจเกี่ยวเน่ืองกับโครงการหรือกิจการ รวมถึงความพรอ้ มของข้อมลู สถานะสุขภาพในพ้นื ท่กี ่อนมีการดำเนนิ การ การจัดระบบฐานข้อมูลเพ่ือ ติดตามผลกระทบ ขีดความสามารถ การสำรวจโรค และการรับมือกับอุบัติภัยและภัยพิบัติที่อาจ เกดิ ขนึ้ (ราชกจิ จานุเบกษา, 2560) ประเภทโครงการที่ต้องจดั ทำ EHIA ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เร่ือง กำหนดประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติ สำหรับโครงการหรือกจิ การทอ่ี าจกอ่ ให้เกิดผลกระทบตอ่ ชมุ ชนอย่างรนุ แรง ท้งั ทางดา้ น คุณภาพ ส่ิงแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนจะต้อง

6-23 จัดทำรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2553 กำหนดให้โครงการ 12 ประเภท ดงั ตอ่ ไปน้ี ตอ้ งจัดทำ EHIA คอื 1. การถมทะเล หรือทะเลสาบ นอกแนวเขตชายฝ่ังเดิม ยกเว้นการถมทะเลที่เป็นการ ฟนื้ ฟูสภาพ ชายหาด ตั้งแต่ 300 ไร่ ขึ้นไป 2. การทำเหมืองแรต่ ามกฎหมายว่าดว้ ยแร่ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) เหมืองแร่ใต้ดิน เฉพาะที่ออกแบบให้โครงสร้างมีการยุบตัวภายหลังการทำ เหมืองโดยไม่มี คำ้ ยันและไม่มีการใส่คืนวัสดทุ ดแทนเพ่อื ป้องกันการยุบตัว 2) เหมืองแร่ตะก่ัว เหมืองแร่สังกะสี หรือเหมืองแร่โลหะอื่นท่ีใช้ไซยาไนด์หรือ ปรอทหรือตะก่ัวไนเตรต ในกระบวนการผลิตหรือเหมืองแร่โลหะอ่ืนท่ีมีอาร์เซโนไพไรต์ (Arsenopyrite) เปน็ แรป่ ระกอบ (Associated Mineral) 3) เหมืองแร่ถ่านหิน เฉพาะท่ีมีการลำเลียงแร่ถ่านหินออกนอกพื้นที่โครงการ ดว้ ยรถยนต์ ขนาด ต้ังแต่ 200,000 ตันตอ่ เดอื น หรือ ตัง้ แต่ 2,400,000 ตนั ตอ่ ปี ขน้ึ ไป 4) เหมืองแร่ในทะเล 3. นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม หรือโครงการท่ีมี ลักษณะ เชน่ เดยี วกับนคิ มอุตสาหกรรม ดงั ต่อไปนี้ 1) นิคมอุตสาหกรรม หรือโครงการท่ีมีลักษณะเช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรมท่ี จดั ตง้ั ขึ้นเพอื่ รองรบั อุตสาหกรรมปิโตรเคมี หรืออุตสาหกรรมถลุงแรเ่ หล็ก มากกว่า ๑ โรงงานขนึ้ ไป 2) นิคมอุตสาหกรรม หรือโครงการท่ีมีลักษณะเช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรม ที่ มกี ารขยายพ้นื ท่ี เพอื่ รองรับอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี หรืออตุ สาหกรรมถลงุ แรเ่ หลก็ 4. อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี ดังตอ่ ไปน้ี 1) อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้น (Upstream Petrochemical Industry) ทุก ขนาด หรือท่ีมกี ารขยาย กำลงั การผลิตตงั้ แตร่ อ้ ยละ 35 ของกำลังการผลติ เดิมขนึ้ ไป 2) อุตสาหกรรมปิโตรเคมีข้ันกลาง (Intermediate Petrochemical Industry) ดังต่อไปนี้ (1.1) อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นกลาง(Intermediate Petrochemical Industry) ท่ีผลิต สารเคมี หรือใช้วัตถุดิบที่เป็นสารเคมีซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งกลุ่ม 1 ขนาดกำลังการ ผลิต 100 ตันต่อวันข้ึนไป หรือที่มีการขยายขนาดกำลังการผลิตรวมกันแล้วมากกว่า 100 ตันต่อวัน ขึน้ ไป (1.2) อุตสาหกรรมปิโตรเคมีข้ันกลาง(Intermediate Petrochemical Industry) ที่ผลิต สารเคมี หรือใช้วัตถุดิบที่เป็นสารเคมี ซ่ึงเป็นสารก่อมะเร็งกลุ่ม 2A ขนาดกำลังการ

6-24 ผลิต 700 ตันต่อวันขึ้นไป หรือที่มีการขยายขนาดกำลังการผลิตรวมกันแล้วมากกว่า 700 ตัน/วัน ข้ึนไป 5. อตุ สาหกรรมถลุงแร่ หรอื หลอมโลหะ ดงั ต่อไปน้ี 1) อุตสาหกรรมถลงุ แรเ่ หล็ก ที่มีปรมิ าณแร่ป้อน (Input) เข้าสู่กระบวนการผลิต ต้ังแต่ 5,000 ตันต่อวันขึ้นไป หรือท่ีมีปริมาณแร่ป้อน (Input) เข้าสู่กระบวนการผลิตรวมกัน ตั้งแต่ 5,000 ตันต่อวันขน้ึ ไป 2) อุตสาหกรรมถลุงแร่เหล็กท่ีมีการผลิตถ่าน Coke หรือที่มีกระบวนการ Sintering 3) อุตสาหกรรมถลุงแร่ ทองแดง ทองคำหรือสังกะสี ที่มปี รมิ าณแร่ป้อน (Input) เข้าสู่ กระบวนการผลิต ต้ังแต่ 1,000 ตันต่อวันข้ึนไป หรือที่มีปริมาณแร่ป้อน (Input) เข้าสู่ กระบวนการผลิตรวมกนั ต้งั แต่ 1,000 ตันต่อวันขึน้ ไป 4) อตุ สาหกรรมถลุงแรต่ ะกว่ั 5) อตุ สาหกรรมหลอมโลหะ (ยกเว้นเหล็ก และอะลูมิเนียม) ขนาดกำลังการผลิต (Output) ตัง้ แต่ 50 ตนั ต่อวนั ข้นึ ไป หรือมีกำลงั การผลติ รวมกันต้ังแต่ 50 ตันต่อวันขึน้ ไป 6) อุตสาหกรรมหลอมตะก่ัว ขนาดกำลังการผลิต (Output) 10 ตันต่อวันข้ึนไป หรอื มกี ำลังการผลิต รวมกนั ตงั้ แต่ 10 ตันตอ่ วันขน้ึ ไป 6. การผลิต กำจดั หรือปรบั แตง่ สารกมั มนั ตรงั สี 7. โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมหรือโรงงานประกอบกิจการเก่ียวกับการฝังกลบส่ิง ปฏกิ ูลหรือ วสั ดุที่ไม่ใช้แล้วตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานที่มีการเผาหรอื ฝังกลบของเสียอันตราย ยกเว้น การเผาในหมอ้ เผา ซีเมนตท์ ่ใี ชข้ องเสยี อันตรายเปน็ วัตถดุ บิ ทดแทน หรือใช้เปน็ เช้อื เพลิงเสริม 8. โครงการระบบขนส่งทางอากาศ ท่ีมีการก่อสร้าง ขยายหรือเพิ่มทางวิ่งของอากาศ ยานตง้ั แต่ 3,000 เมตรขนึ้ ไป 9. ท่าเทียบเรือ - ที่มีความยาวหน้าท่าท่ีเรือเข้าเทียบได้ (Berth Length) ต้ังแต่ 300 เมตรขึ้น ไป หรือที่มีพื้นที่หน้า ท่าตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป ยกเว้น ท่าเรือที่ ชาวบา้ นใชส้ อยในชวี ติ ประจำวัน และการท่องเท่ยี ว - ทีม่ กี ารขุดลอกร่องนำ้ ตงั้ แต่ 100,000 ลูกบาศกเ์ มตรขน้ึ ไป - ทม่ี ีการขนถ่ายวัตถอุ ันตรายหรือกากของเสียอันตรายซึ่งเปน็ สารกอ่ มะเรง็ กลุ่ม 1 มีปรมิ าณ รวมกันตัง้ แต่ 25,000 ตันต่อเดือนข้นึ ไป หรอื มีปริมาณรวมกันทั้ง ปีต้งั แต่ 250,000 ตนั ต่อปีขึน้ ไป

6-25 10. เขื่อนเก็บกักน้ำ หรืออ่างเก็บน้ำที่มีปริมาตรเก็บกักน้ำต้ังแต่ 100 ล้านลูกบาศก์ เมตรข้นึ ไป หรือท่ีมี พ้นื ที่เกบ็ กกั น้ำตัง้ แต่ 15 ตารางกโิ ลเมตรขึน้ ไป 11. โรงไฟฟ้าพลังความร้อน ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) โรงไฟฟ้าท่ีใช้ถ่านหินเป็นเช้ือเพลิงขนาดกำลังผลิตกระแสไฟฟ้ารวม ตั้งแต่ 100 เมกกะวัตตข์ นึ้ ไป 2) โรงไฟฟ้าที่ใช้เช้ือเพลิงชีวมวล ขนาดกำลังผลิตกระแสไฟฟ้ารวม ตั้งแต่ 150 เมกกะวตั ต์ขน้ึ ไป 3) โรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเช้ือเพลิง ซึ่งเป็นระบบพลังความร้อนร่วม ช นิ ด Combined Cycle ห รือ Cogeneration ข น าด ก ำลั งผ ลิ ต ก ระ แ ส ไฟ ฟ้ ารว ม ต้ั งแ ต่ 3,000 เมกะวัตตข์ น้ึ ไป 4) โรงไฟฟา้ นิวเคลยี ร์ 12. อุตสาหกรรมผลิตถ่านโค้ก (ราชกิจจานุเบกษา, 2553) การจัดทำรายงาน EHIA ของประเทศไทย ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อมสำหรับโครงการ ห รื อ กิ จ ก า ร ท่ี อ าจ ก่ อ ให้ เกิ ด ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ชุ ม ช น อ ย่ า ง รุ น แ ร งทั้ งท า งด้ าน คุ ณ ภ า พ สิ่ งแ ว ด ล้ อ ม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2560 ไดก้ ำหนดหลักเกณฑ์สำคัญตา่ ง ๆ เช่น 1. โครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือเอกชนที่อาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อมสำหรับ โครงการหรือกิจการท่ีอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงท้ังทางด้านคุณภาพส่ิงแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มี สว่ นได้เสีย 2. ผู้ที่จัดทำรายงานตามประกาศ จะต้องเป็นผู้ท่ีได้รับอนุญาตให้เป็นผู้มีสิทธิจัดทำ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อมและได้ข้ึนทะเบียนไว้แล้วกับสำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สิริพิชญ์ชนก คณุ ประเสริฐ, 2561) ISO (The International Organization for Standardization : ISO) ISO มาจากคำว่า International Organization for Standardization (ISO) เป็ น มาตรฐานการวัดคุณภาพองค์กรต่าง ๆ เพื่อรับรองระบบการบริหารและการดำเนินงานขององค์กรใน แต่ละประเทศเพ่อื ให้เป็นมาตรฐานเดยี วกันท่ัวโลก

6-26 ตัวเลขที่อยู่ด้านหลังคำว่า ISO นั้น หมายถึง สินค้าและบริการท่ีแตกต่างกัน เช่น โรงแรม ภัตตาคาร สนามบิน และ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ระดับของมาตรฐานการวัดคุณภาพจะแบ่ง ออกเปน็ 4 ระดับ ได้แก่ - ISO9000 - ISO9001 - ISO9002 - ISO9003 ซ่ึงเป็นการวัดคุณภาพจากการจัดการขององค์กร และ ISO14000 จะเป็นเรื่อง สงิ่ แวดลอ้ ม การจัดทำระบบคุณภาพ ISO มีข้อดีคือ ทำให้ผู้บริโภคมั่นใจในผลิตภัณฑ์ท่ีใช้บริการว่า ได้รับการคุ้มครองท้ังในเรื่องของ คุณภาพ และ ความปลอดภัย (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.). 2554) มาตรฐาน ISO 14000 คือ มาตรฐานสากลว่าด้วยการจัดการด้านส่ิงแวดล้อมระหว่าง ประเทศท่ีกำหนดโดยองค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ (The International Organization for Standardization) ซ่ึงตั้งอยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อเป็นมาตรฐานสากลในการ กำหนดคุณภาพส่ิงแวดล้อมในกระบวนการผลิตและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ เพ่ือสร้างระบบในการรกั ษา ควบคุม และปรบั ปรุงคุณภาพของส่ิงแวดล้อม รวมท้ังปอ้ งกันสุขอนามัยของมนุษย์ โดยมีการวางแผน กำหนดแนวทางเพื่อป้องกันและลดต้นเหตุของมลพิษ ครอบคลุมถึงการฝึกอบรมพนักงาน การจัดการ ด้านความรบั ผิดชอบ และระบบตา่ ง ๆ ท่ีต้องดำเนนิ การดา้ นสิง่ แวดลอ้ มในองค์การ มาตรฐาน ISO 14000 เป็นอนกุ รมมาตรฐานการจัดการส่ิงแวดล้อม ได้แก่ ระบบการจัก การสิ่งแวดล้อม การตรวจประเมินการจัดการส่ิงแวดล้อม การประเมินความสามารถในการจัดการ ส่ิงแวดล้อมการแสดงฉลากรับรองผลิตภัณฑ์ และการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในวงจรของ ผลิตภัณฑท์ กุ องค์การท้ังผู้ผลติ และบริโภค มาตรฐาน ISO 14000 ประกอบด้วยมาตรฐานหลายฉบับ เริ่มต้นแต่หมายเลย 14001 จนถึง14100 สำหรับมาตรฐานท่ีสามารถย่ืนขอรับการรับรองได้คือ ISO 14001 Environmental Management Systems-Specification With Guidance For Use หรอื ท่ีเรียกกันว่าเป็นมาตรฐาน ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Pakavade Saelim, 2017) ISO 14000 คือ มาตรฐานเพ่ือการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม เพ่ือเป็นแนวทางในการ จัดการ ปัญหาส่ิงแวดล้อม (Environmental Aspects) ขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควบคู่ไป กับการรกั ษาส่งิ แวดล้อม การปอ้ งกันมลพษิ และการดำเนนิ ธรุ กิจขององค์กร

6-27 ISO 14000 ที่ใช้เป็นแนวทางให้องค์กรหรือหน่วยงานสามารถจัดระบบการจัดการของ ตนเพื่อให้บรรลุนโยบายด้านสิง่ แวดล้อมที่กำหนดไว้ ดงั นั้นระบบการจัดการส่งิ แวดล้อมจึงเป็นระบบที่ มโี ครงสรา้ งหน้าท่ี ความรับผิดชอบที่ชัดเจน มีวิธีการกระบวนการและทรัพยากรอย่างเพียงพอในการ ดำเนินการ ภายใต้หลกั เกณฑ์ PDCA 1. การวางแผน (Planning) 2. การนำแผนไปปฏบิ ัติ (Doing) 3. การตรวจสอบ (Checking) 4. การทบทวน (Action) ระบบการจดั การสง่ิ แวดล้อมหรือ ISO 14000 จึงเปน็ มาตรฐานสากลท่มี ีความสำคัญต่อ การพัฒนาองค์กรให้ก้าวหน้าและเป็นที่ยอมรับทั้งในเชิงพาณิชย์และสังคม เน่ืองจากการดำเนินการ ของระบบจะช่วยให้องค์กรสามารถวางนโยบายและวัตถุประสงค์ ข้อกำหนด กฎระเบียบต่าง ๆ ด้านสิ่งแวดล้อม รวมถึงองค์กรสามารถควบคุมและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ อันอาจจะส่งผลกระทบต่อ สง่ิ แวดลอ้ มตลอดจนกระบวนการทำงานอืน่ ๆ ได้ หลกั การของมาตรฐาน ISO 14001 ระบบการจัดการส่ิงแวดล้อม ISO 14001 เป็นระบบท่ีช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ท่ีดี ให้กับองคก์ ร และช่วยให้องค์กรมั่นใจในการดำเนินงาน ที่สอดคลอ้ งกับกฎหมาย เพื่อลดความเส่ียงท่ี ต้องรับผิดทางแพ่งท่ีอาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติผิดกฎหมาย นอกจากน้ีระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม ยงั ช่วยเปิดโอกาสในการดำเนนิ ธุรกิจกับกลุ่มลกู ค้าทม่ี ีความสนใจ ดา้ นสง่ิ แวดล้อม และชว่ ยเสริมสรา้ ง ทัศนะคตขิ องผปู้ ฏิบัตงิ าน และปรบั ปรงุ สถานทป่ี ฏบิ ัตงิ าน ของภายในองค์กรใหด้ ีข้ึน ISO 14000 สามารถพัฒนาระบบการจัดการส่ิงแวดล้อมทั้งด้านมลภาวะและการใช้ พลังงานไปส่รู ะบบทยี่ ง่ั ยนื ใน 3 แนวทาง คอื 1. ระบบ ISO 14000 จะทำให้มีการจัดการด้านวัตถุดิบ และการใช้พลังงานในรูปแบบ ต่าง ๆ ตลอดจนสาธารณูปโภคอย่างคุ้มค่า และมีประสิทธิภาพก่อให้เกิดการประหยัดค่าใช้จ่าย ลดปริมาณของเสยี และมกี ารใช้พลงั งานสาธารณปู โภคตา่ งๆ ลดนอ้ ยลง 2. ระบบ ISO 14000 จะผลักดันให้มีการปรับปรุงการจัดการของหน่วยงาน/องค์กร อย่างต่อเน่ือง และมีการวิวัฒนาการท่ีดีข้ึนทุกปี ทั้งในแง่ของการป้องกันมลพิษและการลดการใช้ พลังงาน การใชท้ รพั ยากรธรรมชาตติ า่ ง ๆ 3. ระบบ ISO 14000 จะทำให้ภาคอุตสาหกรรมท่ีมีการใช้พลังงานทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนทำให้เกิดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมได้มีการปฏิบัติตามกฎหมายด้านการอนุรักษ์พลังงาน (Theoneisoadmin, 2561)

6-28 โครงสรา้ งอนกุ รมมาตรฐาน ISO 14000 มาตรฐานการจัดการส่ิงแวดล้อม ISO 14000 ท่ีหน่วยงานต่าง ๆ สามารถดำเนินการท่ี จัดขึ้นมี 3 กลุ่ม มาตรฐานของระบบการจัดการส่ิงแวดล้อม เก่ียวผลิตภัณฑ์ และมาตรฐานเกี่ยวกับ การตรวจสอบ ซึ่งแตล่ ะกลุม่ มรี ายเอยี ดดงั นี้ 1. มาตรฐานของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System : EMS) มีหน้าที่ควบคุมระบบการจัดการส่ิงแวดล้อมของหน่วยงานทางด้านนโยบายการ วางแผน การปฏิบตั ิการตรวจสอบ มี 2 รูปแบบ คือ - ISO 14001 หมายถึง ข้อกำหนดสำหรับการใช้เป็นข้อกำหนดของระบบการ จัดการสงิ่ แวดลอ้ ม และแนวทางในการนำข้อกำหนดไปใช้ในองค์การ - ISO 14004 หมายถึง หลักเกณฑ์และข้อเสนอแนะเป็นแนวทางเกย่ี วกับหลักการ ของระบบการจดั การสิ่งแวดล้อมและการประยกุ ตใ์ ช้ในองค์การ 2. มาตรฐานเกี่ยวกับผลิตภัณ ฑ์ (Product Evaluation Standards) ประกอบ มาตรฐานเก่ียวกบั การประเมนิ ผลของผลติ ภณั ฑ์ 3 แบบ คือ (1) ฉลากส่ิงแวดล้อม (Environmental Labels, EL) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่ เกีย่ วขอ้ งกับฉลากสิง่ แวดล้อมด้วยการกำหนดมาตรฐาน คอื ISO 14020 หลักการพ้ืนฐานเก่ยี วกบั การพฒั นาและการใช้ฉลากสิ่งแวดล้อม ISO 14021 คำนิยามและคำศพั ท์เกย่ี วกบั การใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ประเภทท่ี 2 ISO 14022 วิธีการ/แนวทางในการใช้สัญลกั ษณ์ของฉลากผลติ ภัณฑป์ ระเภทที่ 2 ISO 14023 วิธีการตรวจสอบและรับรองผลิตภัณฑ์ที่จะใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ ประเภทท2ี่ ISO 14024 แนวทางหลักการและข้อกำหนดของวิธีการรับรองผลิตภัณฑ์ท่ีจะใช้ ฉลากผลิตภณั ฑ์ประเภทท่ี 1 (2) การประเมินวงจรผลติ ภณั ฑ์ (Life-Cycle Assessment, LCA) การประเมินวงจรผลิตภัณฑ์หรือวงจงชีวิต หมายถึง ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เป็นไปได้ของผลิตภัณฑ์ เป็นการศึกษาลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ผลกระทบที่เป็นไปได้ตลอดชีวติ ของผลติ ภัณฑ์ต้ังแต่การได้มาซ่ึงวัตถุดิบไปจนถึงการผลิต การใช้ ด้วย การกำหนดมาตรฐาน ไดแ้ ก่ ISO 14040 หลักการกรอบงาน และข้อกำหนดสำหรับการดำเนินการและการ รายงานผลการศึกษาการประเมินวงจงผลิตภณั ฑ์ ISO 14041 วิธีการจัดทำรายงาน ปัจจัยท่ีใช้ในกระบวนการการผลิต/บริการ และผลท่ีได้จากกระบวนการ

6-29 ISO 14042 การประเมินผลกระทบทางส่ิงแวดล้อมของวงจงผลติ ภัณฑ์ ISO 14043 การประเมนิ การปรับปรงุ ผลิตภัณฑ์ (Pakavade Saelim, 2017) 6.2.3 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุ้มชูตัวเองได้ ให้ความพอเพียงกับ ตัวเอง (Self Sufficiency) อยู่ได้โดยไม่เดือดร้อน โดยต้องสร้างพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจของตนเองให้ดี เสยี ก่อน คอื ตง้ั ตวั ใหม้ ีความพอมพี อกนิ พอใช้ ไมใ่ ช่มงุ่ หวังแต่จะทุ่มเทสรา้ งความเจรญิ ยกเศรษฐกจิ ให้ รวดเร็วแต่เพียงอยา่ งเดียว เพราะผู้ท่ีมีอาชีพและฐานะเพยี งพอท่ีจะพึ่งตนเอง ยอ่ มสามารถสรา้ งความ เจริญก้าวหน้า และฐานทางเศรษฐกิจขั้นท่ีสูงข้ึนไปตามลำดับต่อไปได้ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มปป.) แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี ง การพัฒนาท่ียง่ั ยนื จะเกิดขึน้ ได้ต่อเมื่อเป้าหมายการพัฒนาด้านเศรษฐกจิ และสังคม และ ระบบนิเวศ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมไปถึงต้องพิจารณาถึงความสุ่มเสี่ยงต่อระบบทางธรรมชาติ ทจ่ี ำเป็นต่อการดำรงอยู่ของมนุษย์ทั้งในรุ่นนแี้ ละรุ่นตอ่ ไป ซง่ึ ศาสตร์ของพระราชาในเร่ือง “เศรษฐกิจ พอเพียง” เป็นแนวคิดที่ตอบสนองกับเรอื่ งการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้เป็นอย่างดี หากบุคคล และองคก์ ร นำเอาหลักความพอดีมาใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ และการบริหารจัดการ ใช้ทรพั ยากรต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล มีความพอประมาณในการบริโภค และคำนึงถงึ ผลที่จะเกดิ จากการกระทำอย่าง รอบคอบแลว้ ก็จะเป็น การสร้างความย่ังยืนให้กับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติและ ประชาคมโลกได้ (จิรายุ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา, 2561) แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำรัสช้ีแนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด นานกว่า 30 ปี ต้ังแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเม่ือภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการ แก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ไดอ้ ย่างมน่ั คงและยัง่ ยืนภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ตั นแ์ ละ ความ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ โดยสำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หน่วยงานต่าง ๆ ได้ เชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากสาขาต่าง ๆ มาร่วมกันพิจารณากล่ันกรองพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ในโอกาสต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปออกมาเป็นนิยาม ความหมาย ดังนี้ เศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นปรัชญาชแ้ี นวการดำรงอยู่และปฏิบัตติ นของประชาชนใน ทุก ระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ ดำเนินไปในทางสายกลาง 8 โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นท่ีจะต้องมีระบบ ภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอกและ ภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการ

6-30 ต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้าง พ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐ นกั ทฤษฎี และนักธรุ กจิ ในทุกระดับให้มีสำนึก ในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบเพ่ือให้สมดุลและพรอ้ มต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทั้งค้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็น อย่างดี โดยมี รายละเอยี ด ดงั น้ี 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีต่อความจำเป็นและเหมาะสมกับฐานะของ ตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม รวมท้ังวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่นไม่มาเกินไป ไม่น้อยเกินไป และต้องไม่ เบียดเบยี นตนเองและผอู้ น่ื 2. ความมีเหตุผล หมายถึง หมายถึงการตัดสินใจดาเนินการเรื่องต่างๆ อย่างมีเหตุผล ตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมท่ีดีงาม คิดถึงปัจจัยที่ เกีย่ วขอ้ งอยา่ งถ้วนถโี่ ดยคำนึงถงึ ผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้นึ จากการกระทำน้นั ๆ อย่างรอบคอบ 3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ เปล่ียนแปลงด้านต่าง ๆ ท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม เพ่ือให้สามารถ ปรบั ตัวและรบั มอื ได้อย่างทนั ท่วงที โดยมีเง่ือนไขของการตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง 2 ประการ ดงั นี้ (1.) เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพ่ือ ประกอบการวางแผนและ ความระมดั ระวงั ในการปฏบิ ตั ิ (2.) เง่ือนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มี ความซ่ือสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต ดงั ภาพที่ 6.2 (มลู นธิ ชิ ัยพฒั นา, 2560) จึงกล่าวได้ว่าการนำปรัชญาของเศรษฐกิจเพียงพอมาปฏิบัติ คือ การพัฒนาท่ี สมดุล และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งเศรษฐกจิ สังคม สภาพแวดล้อม ความรู้ และ เทคโนโลยี เป็นแนวทางในการพัฒนาให้สามารถพ่ึงตนเองในระดับต่าง ๆ อย่างเป็นข้ันตอน ลด ความเสี่ยงเกี่ยวกับธรรมชาติ หรือการเปล่ียนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณและ สร้างภูมิคุ้มกันท่ีดี มีความรู้ ความเพียร และความอดทน สติ และปัญญา การช่วยเหลือเกื้อกูล และ ความสามัคคี โดยภูมิปัญญาท้องถ่ินผสมผสานกับหลักวิชาการ ใช้การพิจารณาวางแผนและข้ันตอน การปฏิบัติอย่างรอบคอบ โดยตระหนักในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต ใช้สติปัญญาและความเพียร ในการดำเนนิ ชวี ติ

6-31 ภาพที่ 6.2 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

6-32 เอกสารอา้ งองิ กรมควบคุมมลพิษ. (2564). การประชมุ สุดยอดของโลก. กลมุ่ เศรษฐศาสตร์สิง่ แวดล้อมและวเิ ทศ สัมพันธ์ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน. กรมควบคมุ มลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: http://pcd.go.th/info_serv/pol_sustainable.html จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2561). ตามรอยพ่อ ชีวิตพอเพียง สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ์ ริ้นต้ิงแอนด์พับลิชช่ิง. เฉลมิ เกยี รติ แกว้ หอม. (2555). หลักการพัฒนาท่ยี งั่ ยืน (Sustainable development). [ออนไลน์]. สืบคน้ จาก: http://sukanrat.blogspot.com/2012/09/sustainable- development.html. นงนภัส คู่วรัญญู เท่ียงกมล. (2554). ส่ิงแวดล้อมและการพัฒนา เล่ม 1. พิมพ์คร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พรวิวาห์ กกึ ก้อง. (2564). การประเมนิ ผลกระทบทางส่งิ แวดลอ้ ม. วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาพิษณโุ ลก. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: https://sites.google.com/site/energyandenvironment00/kar- pramein-phlk-ra-thb-thang-sing-waedlxm-environmental-impact-assessment-eia. มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. (ม.ป.ป.). เศรษฐกิจพอเพยี ง. คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. [ออนไลน์] สืบคน้ จาก: http://www3.rdi.ku.ac.th/exhibition/50/king/16- 2_king/king16.2.htm

author. มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2564). แนวความคดิ ในการจัดการ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม. [ออนไลน์]. สืบคน้ จาก: https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=19&chap=1&page =t19-1-infodetail03.html มูลนิธิชยั พัฒนา. (2560). เศรษฐกิจพอเพียง. [ออนไลน์]. สบื ค้นจาก: https://www.chaipat.or.th/site_content/item/3579-2010-10-08-05-24-39.html. ราชกิจจานุเบกษา. (2553). ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรราชาติและส่ิงแวดล้อม เรื่อง กำหนด ประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติสำหรับโครงการหรือกิจการท่ีอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน อย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพส่ิงแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพท่ีส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนจะต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2553. เล่ม 127 ตอนพิเศษ 104 ง.

6-33 เอกสารอ้างองิ (ต่อ) ราชกิจจานุเบกษา. (2560). ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรราชาติและส่ิงแวดล้อม เร่ือง กำหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิง่ แวดล้อมสำหรับโครงการหรอื กิจการท่ีอาจก่อให้เกิดผลกระทบตอ่ ชุมชนอย่างรุนแรงท้ังด้าน คุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2560. เล่ม 134 ตอน พิเศษ 228 ง. สถาบนั ไทยพฒั น์. (2564). เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ่ังยืน. มลู นิธบิ ูรณะชนบทแหง่ ประเทศไทยในพระ บรมราชูปถมั ภ์. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: https://www.thaicsr.com/2015/09/ sdgs.html?m=0. สำนักงาน ป.ย.ป. (2562). แผนยุทธศาสตร์ 20 ปี อนาคตประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงาน ขบั เคล่ือนการปฏิรปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง. [ออนไลน์]. สบื คน้ จาก: https://sto.go.th/th/about/policy/20-year-strategic-plan. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.). (2554). ระบบ ISO คืออะไร?. [ออนไลน์]. สบื คน้ จาก: https://www.nstda.or.th/home/knowledge_post/iso/ สำนักนายกรัฐมนตร.ี (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: https://www.royalthaipolice.go.th/downloads/plan12.pdf. สำนักพัฒนานวัตกรรมการศึกษา. (2563). ส่ิงแวดล้อมศึกษาเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน. [ออนไลน์]. สบื ค้นจาก: http://www.innoobec.com/?p=172966. สิริพชิ ญช์ นก คุณประเสริฐ. (2561). การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสขุ ภาพของโครงการทม่ี ี ผลกระทบต่อสงิ่ แวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ. กลุม่ งานบรกิ ารวิชาการ 3 สำนักวชิ าการ. Academic Focus. [ออนไลน์]. สืบคน้ จาก: https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_dl_link.php ?nid=51964&filename=house2558_2. สุทธิดา ศริ ิบุญหลง. (2554). การพัฒนาแบบย่ังยนื : กระบวนการกระทำทางเศรษฐกจิ สังคม (metabolism) และการเปล่ียนแปลงธรรมชาตเิ ชิงสรา้ งสรรค.์ ศนู ย์วิจยั กสิกรไทย. [ออนไลน์]. สืบคน้ จาก: http://www.thai-aec.com. Expresso. (2562). Sustainable Development พัฒนาอย่างยงั่ ยืนเพอ่ื โลกทน่ี ่าอยู่มากขึ้น. กรุงเทพฯ : บริษทั ปตท. จำกัด (มหาชน). [ออนไลน์]. สบื ค้นจาก: https://blog.pttexpresso.com/tag/sustainable-development/

6-34 เอกสารอ้างอิง (ต่อ) GreenFields ASIA. (2564). เป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม. [ออนไลน์]. สืบคน้ จาก: https://asia.greenfields.eu/th/about-us/environmentally-friendly. Salforest. (2556). Sustainable Development. ปา่ สาละ. [ออนไลน์]. สบื ค้นจาก: http://www.salforest.com/glossary/sustainable-development. Theoneisoadmin. (2561). มาตรฐาน ISO. [ออนไลน์]. สบื ค้นจาก: https://theoneiso.co.th/ มาตรฐาน-iso-14000-คืออะไร/. Pakavade saelim. (2017). การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม. [ออนไลน์]. สืบคน้ จาก: https://sites.google.com/site/unganxachiph/bth-reiyn/bth-thi-8. WCED. (1987). Our Common Future. World Commission on Environment and Development. New York : Oxford University Press. World Health Organization. (2018). Health Impact Assessment (HIA). Retrieved September 10, 2018 [ออนไลน์]. สืบคน้ จาก: http://www.who.int/hia/tools/other_IA/en/. WRITER. (2013). EHIA การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: https://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=34&pageid=3&r ead=true&count=true.

6-35 แบบฝึกหดั /กจิ กรรมท้ายบท บทที่ 6 การพฒั นาที่ยงั่ ยนื 4 คาบ 1. Sustainable Development คอื อะไร 2. การพัฒนาอยา่ งยง่ั ยนื มีลกั ษณะ หลกั การพื้นฐานอยา่ งไรบา้ ง 3. จงยกตวั อยา่ งแนวคดิ ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมท่ียั่งยนื พรอ้ ม อธบิ าย 4. จงอธิบายความเป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ มทยี่ ง่ั ยืนว่าเปน็ อย่างไร 5. เคร่ืองมือในการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมมีอะไรบ้าง จงอธิบายพอสังเขป 6. EIA ทก่ี ล่าวถงึ ในบทนีค้ ืออะไร จงอธิบาย 7. EIA กับ EHIA แตกตา่ งกันอย่างไร จงอธบิ าย 8. ประเดน็ สำคัญ 3 เสาหลกั ของการพฒั นาท่ียงั่ ยืน ในการประชุมสุดยอดว่าดว้ ยการพฒั นา อยา่ งยง่ั ยืนคอื อะไร

7-1 แผนบรหิ ารการสอน บทท่ี 7 การสร้างจิตสำนกึ ความตระหนกั ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม 4 คาบ เนือ้ หาหลักประจำบท 1. การสร้างจิตสำนกึ เยาวชนในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 2. การสร้างจิตสำนกึ สาธารณะ วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1. เพ่ือใหผ้ ศู้ ึกษามคี วามรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับการสร้างจิตสำนกึ ในการอนรุ ักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม 2. เพ่อื ให้ผูศ้ ึกษามีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั การสร้างจติ สำนกึ สาธารณะ 3. เพ่ือใหผ้ ศู้ ึกษาตระหนกั ถึงการสร้างจิตสำนกึ ในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สิง่ แวดลอ้ ม กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. ศึกษาเอกสารประกอบการสอนดา้ นการสรา้ งจติ สำนึก ความตระหนักด้านสงิ่ แวดลอ้ ม 2. แบง่ กลุ่มสรุปประเดน็ รว่ มกันแสดงความคิดเห็นในการสรา้ งจิตสำนึกในการอนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม 3. ร่วมอภิปรายเนื้อหา และทำแบบฝกึ หดั 4. ค้นคว้ากรณศี ึกษา ส่ือการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. Power Point 3. YouTube การวัดประเมนิ ผล 1. คะแนนกิจกรรมในห้องเรยี น 2. คะแนนแบบฝึกหดั 3. ตัง้ คำถามในเนือ้ หาทส่ี อน 4. สงั เกตพฤติกรรมการเรยี น การทำงานกลมุ่ 5. ตรวจแบบฝึกหดั

7-2 บทที่ 7 การสร้างจติ สำนึก ความตระหนกั ด้านส่ิงแวดล้อม นิตญิ า สังขนันท์ บทนำ การสรา้ งจิตสำนึกแห่งการอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดล้อม เปน็ การทำให้บุคคล เหน็ คุณคา่ และตระหนัก ใน ส่ิงแวดล้อมและธรรมชาติ รวมทั้งผลกระทบ จากการทำกิจกรรม ท่ีส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม สร้าง ความรู้สึก รับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดข้ึน ระหว่างส่ิงแวดล้อม และการพัฒนา การสร้างจิตสำนึก โดย การให้การศึกษา เกี่ยวกับส่ิงแวดล้อม จะเป็นพื้นฐานในการพัฒนาจิตใจ ของบุคคล และยังมีผลต่อ พฤตกิ รรม ของบุคคล ให้มีการเปลย่ี นแปลง การดำเนินชีวติ ได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกลมกลืนกับ ธรรมชาติ 7.1 การสร้างจิตสำนกึ เยาวชนในการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมอย่างฉลาด โดยใช้ให้น้อย เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยคำนึงถึงระยะเวลาในการใช้ให้ ยาวนาน และก่อให้เกิดผลเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมน้อยท่ีสุด รวมท้ังต้องมีการกระจายการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างท่ัวถึง อย่างไรก็ตาม ในสภาพปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมี ความเสื่อมโทรมมากขึน้ ดงั นน้ั การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจึงมีความหมายรวมไป ถึงการพัฒนาคุณภาพส่งิ แวดล้อมดว้ ย การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมสามารถกระทำได้หลายวิธี ท้ังทางตรงและ ทางออ้ ม ดงั น้ี 1. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยทางตรง ซ่ึงปฏิบัติได้ในระดับ บุคคล องคก์ ร และระดับประเทศ ทส่ี ำคญั คอื (1) การใช้อย่างประหยัด คือ การใช้เท่าท่ีมีความจำเป็น เพ่ือให้มีทรัพยากรไว้ ใชไ้ ด้นานและเกดิ ประโยชน์อย่างคุ้มคา่ มากทสี่ ดุ (2) การนำกลับมาใชซ้ ำ้ อีก สง่ิ ของบางอย่างเมอ่ื มกี ารใชแ้ ล้วครง้ั หน่ึงสามารถท่ีจะ นำมาใช้ซ้ำได้อีก เช่น ถุงพลาสติก กระดาษ เป็นต้น หรือสามารถท่ีจะนำมาใช้ได้ใหม่โดยผ่าน กระบวนการต่าง ๆ เช่น การนำกระดาษที่ใช้แล้วไปผ่านกระบวนการต่าง ๆ เพ่ือทำเป็นกระดาษแข็ง เปน็ ตน้ ซงึ่ เปน็ การลดปริมาณการใช้ทรัพยากรและการทำลายสิ่งแวดล้อมได้

7-3 (3) การบูรณะซ่อมแซม ส่ิงของบางอย่างเม่ือใชเ้ ป็นเวลานานอาจเกิดการชำรุดได้ เพราะฉะน้นั ถ้ามีการบรู ณะซอ่ มแซม ทำให้สามารถยืดอายุการใชง้ านต่อไปได้อีก (4) การบำบัดและการฟ้ืนฟู เป็นวิธีการที่จะช่วยลดความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรด้วยการบำบัดก่อน เช่น การบำบัดน้ำเสียจากบ้านเรือนหรือโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ก่อนที่จะปล่อยลงสแู่ หล่งน้ำสาธารณะ ส่วนการฟ้ืนฟูเป็นการร้ือฟ้ืนธรรมชาติให้กลับสู่สภาพเดิม เช่น การปลกู ป่าชายเลน เพ่ือฟ้ืนฟคู วามสมดุลของป่าชายเลนใหก้ ลบั มาอุดมสมบรู ณ์ เป็นต้น (5) การใช้ส่ิงอ่ืนทดแทน เป็นวิธีการที่จะช่วยให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ น้อยลง และไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก การใช้ใบตองแทนโฟม การใช้ พลงั งานแสงแดดแทนแร่เชอ้ื เพลิง การใชป้ ยุ๋ ชีวภาพแทนปุ๋ยเคมี เปน็ ต้น (6) การเฝ้าระวังดูแลและป้องกัน เป็นวิธีการท่ีจะไม่ให้ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมถูกทำลาย เช่น การเฝ้าระวังการท้ิงขยะ สิ่งปฏิกูลลงแม่น้ำ คูคลอง การจัดทำแนวป้องกัน ไฟป่า เป็นตน้ 2. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยทางอ้อม สามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้ (1) การพัฒนาคุณภาพประชาชน โดยสนับสนุนการศึกษาด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมที่ถกู ต้องตามหลกั วิชา ซึ่งสามารถทำได้ทุกระดับอายุ ท้ังในระบบ โรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ และนอกระบบโรงเรียนผ่านสื่อสารมวลชนต่าง ๆ เพ่ือให้ ประชาชนเกิดความตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการอนุรักษ์ เกิดความรักความหว ง แหน และใหค้ วามร่วมมืออยา่ งจริงจัง (2) การใชม้ าตรการทางสังคมและกฎหมาย การจัดต้ังกลมุ่ ชุมชน ชมรม สมาคม เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ตลอดจนการให้ความร่วมมือท้ังทางด้าน พลังกาย พลังใจ พลังความคิด ด้วยจิตสำนึกในความมีคุณค่าของส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรที่มีต่อตัว เรา เช่น กล่มุ ชมรมอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมของนกั เรยี น นกั ศึกษา ในโรงเรียนและ สถาบนั การศึกษาต่าง ๆ มูลนิธคิ ุ้มครองสัตว์ป่าและพรรณพืชแห่งประเทศไทย มูลนิธสิ ืบ นาคะเสถียร มลู นธิ โิ ลกสเี ขียว เปน็ ต้น (3) ส่งเสรมิ ให้ประชาชนในท้องถิ่นไดม้ ีส่วนรว่ มในการอนุรักษ์ ช่วยกันดแู ลรักษา ให้คงสภาพเดิม ไม่ให้เกิดความเส่ือมโทรม เพ่ือประโยชน์ในการดำรงชีวิตในท้องถิ่นของตน การ ประสานงานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักระหว่างหน่วยงานของรัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินกับประชาชน ให้มีบทบาทหน้าท่ีในการปกป้อง คุ้มครอง ฟื้นฟูการใช้ทรัพยากร อยา่ งคมุ้ ค่าและเกดิ ประโยชน์สงู สดุ

7-4 (4) สง่ เสรมิ การศกึ ษาวิจัย คน้ หาวิธกี ารและพัฒนาเทคโนโลยี มาใช้ในการจัดการ กับทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การใช้ความรู้ทางเทคโนโลยี สารสนเทศมาจัดการวางแผนพัฒนา การพัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือเคร่ืองใช้ให้มีการประหยัดพลังงาน มากข้ึน การค้นคว้าวิจัยวิธีการจัดการ การปรับปรุง พัฒนาส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืน เปน็ ตน้ (5) การกำหนดนโยบายและวางแนวทางของรัฐบาล ในการอนุรักษ์และพัฒนา ส่ิงแวดล้อมทั้งในระยะส้ันและระยะยาว เพื่อเป็นหลักการให้หน่วยงานและเจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ี เก่ียวข้องยึดถือและนำไปปฏิบัติ รวมท้ังการเผยแพร่ข่าวสารด้านการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมทางตรงและทางออ้ ม (มาโนช ด่านพนัง, 2560) การสรา้ งจติ สำนึกเยาวชนในการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม พลโลก คือ พลเมืองของโลกที่อยู่ร่วมกันภายใต้กฎข้อบังคับและบัญญัติของกฎหมาย อย่างเป็นระเบียบ เพื่อความสุขสงบและปลอดภัย แน่นอนเราต่างอาศัยอยู่ในประเทศที่มีความ แตกต่าง แต่ความแตกต่างทั้งหมดน้ัน คือ ความต่างที่เหมือนกัน เพราะแม้แต่ละประเทศจะมีความ เช่ือ มีศาสนาและวัฒนธรรม มีคนเช้ือชาติและสังคมที่ต่างกัน แต่ไม่ว่าจะต่างกันอย่างไร เราก็อยู่บน โลกเดียวกัน โลกใบเดียวกันกับที่เราได้ใช้ทรพั ยากรธรรมชาตเิ พอื่ ความอยรู่ อด อยู่กับธรรมชาตทิ ่ีมีมา ตลอดชว่ งเวลาท่เี ราถือกำเนดิ และดับไป หลักการการสร้างจิตสำนึกในการเป็นพลโลกท่ีดี อยู่บนพ้ืนฐานของการวางแผนจัดการ อย่างเป็นระบบเพ่ือการพัฒ นาที่ย่ังยืน ด้วยการบำรุงรักษาและกำหนดขอบเขตการใช้ ทรัพยากรธรรมชาตใิ หม้ ีประสทิ ธภิ าพอยา่ งชัดเจนโดยให้ทุกภาคสว่ นมสี ่วนรว่ ม การปลกู จติ สำนึกในการเป็นพลโลกท่ดี ี ควรมีแนวทางการปฏิบัติ ดงั นี้ 1. สอดแทรกการปลูกจิตสำนึกการเป็นพลโลกที่ดีกับนักเรียนทุกคน ในทุกโอกาสที่อยู่ ภายในโรงเรียน โดยให้ความรู้เก่ียวกับสิ่งแวดล้อม ให้นักเรียนรู้จักธรรมชาติที่อยู่รอบตัวอย่างชัดเจน จนตระหนักและเห็นคณุ ค่าของส่ิงแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ รวมท้ังผลกระทบจากการกระทำ ของตนท่ีสง่ ผลตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม 2. ร่วมสร้างความรู้สึกรับผิดชอบ ต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียน ท่ีบ้านหรือชุมชน ทเ่ี กย่ี วกับส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 3. แนะนำวิธีการรักษาทรัพยากรธรรมชาติท่ีจำเป็นและหายาก สอนวิธีการฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้ให้กลับมาเพิ่มข้ึนเท่ากับปริมาณที่ต้องการใช้ ด้วยการใช้อย่างฉลาด ใช้อย่างประหยัด และฟืน้ ฟธู รรมชาตทิ เ่ี สยี หายหรอื เสือ่ มโทรมใหด้ ขี ้ึน

7-5 4. แนะนำแนวทางการปฏิบัติตามหลักการพัฒนาท่ีย่ังยืน ด้วยการลดการใช้พลังงาน หรือใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่า แสวงหาแหล่งพลังงานใหม่ ๆ ลดการเกิดขยะมูลฝอยท่ีไม่จำเป็น หรือ จดั การขยะอยา่ งมีประสิทธิภาพ 5. จัดเวลาให้มีการศึกษาประเภทของธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศวิทยา และความสัมพนั ธค์ วามเชือ่ มโยงความอย่รู อดระหวา่ งมนุษยแ์ ละส่ิงแวดล้อม 6. แนะนำแนวทางให้นักเรียน วางแผนการดำรงชีวิต อย่างเรยี บง่าย ด้วยการไม่ทำลาย ชีวิตอ่ืน ๆ ที่อยูใ่ นธรรมชาติทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม 7. แนะนำขนั้ ตอนปฏบิ ัติให้นักเรียน ไดท้ ดลองใชป้ ระโยชน์จากธรรมชาติอย่างสน้ิ เปลอื ง นอ้ ยท่สี ุด 8. โน้มน้าวให้นักเรียนกลายเป็นนักอนุรักษนิยม เพื่อช่วยเผยแพร่จิตสำนึกไปยัง ครอบครัวและชุมชนที่ตนอาศัยอยู่ ให้เห็นคุณค่าและตระหนักถึงภัยพิบัติที่กำลังเกิดข้ึนต่อธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม พร้อมทัง้ แนวทางในการแกไ้ ข ใหท้ รพั ยากรธรรมชาติสามารถคงอยู่หรือกลบั คืนมาได้ ดังเดิม 9. ชักนำและร่วมกับนักเรียนในการทำกิจกรรม ท่ีเอือ้ ต่อส่ิงแวดล้อม และการดำรงชีวิต ของส่ิงมชี วี ิตให้สอดคลอ้ งกับธรรมชาติ (อนชุ ิต จุรีเกษ และสรสริ ิ วรวรรณ, 2559) 7.2 การสรา้ งจติ สำนกึ สาธารณะ แนวทางในการพัฒนาจิตสำนึกสาธารณะในการร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดล้อม ควรใหค้ วามสำคัญกับการปลูกฝังจติ สำนึกเป็นหลกั จิตสาธารณะ (Public Mind) หรือ จิตสำนึกสาธารณะ (Public Consciousness) เกิดข้ึน พร้อม ๆ กับแนวคิดการกระจายอำนาจทางการเมืองการปกครองสู่ท้องถ่ินและการพัฒนาทรัพยากร มนษุ ยช์ ว่ งเพียงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 และกลา่ ววา่ “จติ สำนกึ สาธารณะ” เป็นคำเดียวกับคำว่า จิตสาธารณะ ซึ่งหมายถึง ความเป็นพลเมืองผู้ต่ืนรู้ ตระหนักในสิทธิและความ รับผิดชอบท่ีจะสร้างสรรค์สังคมส่วนรวมของคนสามัญ พลเมืองท่ีรุก เรียกร้องการมีส่วนร่วม และ ต้องการทีจ่ ะจัดการดแู ลกำหนดชะตากรรมของตนและชุมชน (ชัยวัฒน์ ถิระพนั ธ,ุ์ 2542) กล่าวได้ว่า จิตสาธารณะ หมายถึง การตระหนักรู้ตน ท่ีจะทำส่ิงใดเพ่ือเห็นแก่ประโยชน์ ส่วนรวม การคิดท่ีสรา้ งสรรค์ เปน็ ประโยชนต์ ่อสว่ นรวม คิดในทางทดี่ ี ความสำคญั ของการมีจิตสาธารณะ การทีค่ นมาอยู่รวมกันเป็นสังคมย่อมตอ้ งมีความสัมพันธ์ในรูปแบบพึ่งพากัน คนในสังคม ซ่ึงมีบทบาทและหน้าท่ีแตกต่างกันไป ถ้าคนในสังคมขาดจิตสำนึกสาธารณะ ซึ่งนอกจากจะมี

7-6 ผลกระทบต่อบุคคล ครอบครัว องค์กรแล้ว การขาดจิตสํานึกสาธารณะยังมีผลกระทบต่อชุมชน ระดับประเทศ และระดบั โลก ดงั น้ี (ไพบูลย์ วัฒนศริ ิธรรม และสังคม สัญจร, 2543) ผลกระทบตอ่ บุคคลทำให้เกดิ ปญั หา คือ 1. ชุมชนอ่อนแอ ขาดการพัฒนา เพราะต่างคนต่างอยู่ สภาพชุมชนมีสภาพ เชน่ ไร กย็ ังคงเป็นเชน่ น้ัน ไม่มีการพัฒนาและยิ่งนาน ไปมีแตเ่ สื่อมทรดุ ลง 2. อาชญากรรมในชมุ ชนอยใู่ นระดับสงู 3. ขาดศูนย์รวมจิตใจ ขาดผู้นำที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เพราะคนในชุมชนมอง ปัญหาของตวั เองเปน็ เรื่องใหญ่ ขาดคนอาสานำพาการพัฒนา เพราะกลัวเสียทรัพย์ กลัวเสียเวลา หรือ กลวั เป็นทคี่ รหาจากบุคคลอ่ืน ในระดบั ชาติถ้าบคุ คลในชาติขาดจิตสาธารณะแลว้ จะทำใหเ้ กิด 1. วิกฤตการณ์ภายในประเทศบ่อยคร้ังและแก้ปัญหาไม่ได้ อาทิ วิกฤตการณ์เศรษฐกิจ สงั คมขาดเสถยี รภาพทางการเมือง การชุมนุมขบั ไลร่ ฐั บาลหรือผูน้ ำประเทศ 2. ประเทศชาติอยู่ในสภาพล้าหลัง เน่ืองจากขาดพลังของคนในสังคม เม่ือผู้นำประเทศ นำมาตรการใดออกมาใชก้ จ็ ะไมไ่ ดผ้ ล เพราะไม่ได้รับความรว่ มมือจากประชาชน 3. ประเทศชาติไร้เกียรติไรศ้ ักดิ์ศรี ทำให้ประชาชนในประเทศอืน่ มองด้วยสายตาเหยียด หยาม ดหู มน่ิ ดแู คลนว่าเป็นประเทศด้อยพฒั นา ในระดับโลกถ้าบุคคลขาดจิตสาธารณะ จะทำให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบระหว่างประเทศ ทำ ให้เกิดปญั หาในระดับตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. เกิดการสะสมอาวุธกันระหว่างประเทศ เพราะขาดความไว้วางใจซ่ึงกันและกัน กลัว ประเทศอื่นจะโจมตี จึงต้องมีอาวุธที่รุนแรง มีอานุภาพในการทำลายสูงไว้ในครอบครองเพื่อข่มขู่ ประเทศอ่ืน และเม่ือมีปัญหาเกิดข้ึนก็มักมีแนวโน้มในการใช้ความรุนแรงของแสนยานุภาพทาง สงครามในการตดั สินปญั หา 2. เกิดการกล่ันแกล้ง แก่งแย่งหรือครอบงำทางการค้าระหว่างประเทศ พยายามทุก วิถีทางเพื่อให้เกิดการได้เปรียบทางการค้า ทำให้ประเทศด้อยกว่าขาดโอกาสในการพัฒนาประเทศ ของตน 3. เกดิ การรังเกยี จเหยียดหยามคนต่างเช้ือชาติ ตา่ งเผา่ พันธ์ุหรือต่างท้องถิ่น มองชนชาติ อื่น เผ่าพันธุ์อ่ืนว่ามีความเจริญหรือมีศักดิ์ศรีด้อยกว่าเช้ือชาติและเผ่าพันธ์ุของตนเอง ดูถูกหรือเป็น ปฏปิ กั ษ์ต่อชาติอ่นื จิตสาธารณะเป็นคณุ ธรรมหนง่ึ ของพลเมือง เป็นคุณคา่ และจิตสำนึก เป็นจิตวิญญาณของสังคม บุคคล องค์กร หรือสังคม สังคมที่ไม่มีคุณค่าและจิตสำนึก ทำให้ขาดพลังในการสร้างสรรค์เมื่อเกิดจิต

7-7 สาธารณะจะทำให้เกิดประชาสังคมก่อให้เกิดความเข้มแข็งของสังคม ซึ่งจะทำให้การเมือง เศรษฐกิจ ศีลธรรมดี (ประเวศ วะสี, 2541) การที่มนุษย์ในสังคมจะแสดงออกซ่ึงการมีจิตสาธารณะน้ันเป็นเรื่องท่ียาก หากไม่ได้รับการ เลี้ยงดูมาแบบส่งเสริมหรือเอ้ือต่อการเกิดพฤติกรรมการมีจิตสาธารณะ สังคมก็จะเป็นไปแบบเห็นแก่ ตัว คือ ตัวใครตัวมัน ไม่สนใจสังคมรอบข้างคิดแต่ประโยชน์แห่งตนเท่าน้ัน ชุมชนอ่อนแอ ขาดการ พัฒนา เพราะต่างคนต่างอยู่ สภาพชุมชนมีสภาพเช่นไรก็ยังคงเช่นนั้น ไม่เกิดการพัฒนา และยิ่งนาน ไปก็มีแต่เสื่อมทรุดลง อาชญากรรมในชุมชนอยู่ในระดับสูง ขาดศูนย์รวมจิตใจ ขาดผู้นำท่ีนำไปสู่การ แก้ปัญหา เพราะคนในชุมชนมองปัญหาของตัวเองเป็นเร่ืองใหญ่ ขาดคนอาสานำการพัฒนา เพราะ กลัวเสียทรัพย์ กลัวเสียเวลา หรือกลัวเป็นท่ีครหาจากบุคคลอื่น ดังนั้น การศึกษาแนวทางและ ความสำคัญของการมีจิตสาธารณะเพื่อให้เกิดในจติ สำนึกของเด็กและเยาวชนนั้นเป็นเร่ืองสำคญั ที่เรา ควรกระทำ เพ่ือสังคมท่ีน่าอยู่ต่อไป และก่อให้เกิดความเข้มแข็งของสังคม ส่งผลให้ การเมือง เศรษฐกจิ ศีลธรรมในสังคมนน้ั ดขี น้ึ จิตสาธารณะเป็นความรับผิดชอบท่ีเกิดจากภายใน คือ ความรู้สึกนึกคิด จิตใต้สำนึกตลอดจน คุณธรรมจริยธรรม ซ่ึงอยู่ในจิตใจ และส่งผลมาสู่การกระทำภายนอก ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน จะเห็น ว่าเกดิ จากการขาดจิตสำนกึ ของคนส่วนรวมในสังคมเปน็ สำคญั เช่น 1. ปัญหายาเสพติด ซ่ึงเกิดจากความเห็นแก่ตัวของผู้ชาย ไม่นึกถึงปัญหาท่ีเกิดขึ้นต่อไป กบั สังคม 2. ปญั หามลพษิ ตา่ ง ๆ ท่ีเกิดจากความไม่รบั ผดิ ชอบ ขาดจิตสำนึก เชน่ - การปลอ่ ยนำ้ เสียออกจากโรงงาน โดยไมผ่ า่ นการบำบัด - การจอดรถยนตโ์ ดยไม่ดบั เครอ่ื งยนต์ ทำให้เกดิ ควันพิษ โดยเฉพาะในเมอื ง ใหญ่ - ทรพั ยากรป่าไม้ถกู ทำลาย - ปญั หาเดก็ ถกู ทอดทิ้ง - การใชท้ างเทา้ สาธารณะเพอ่ื ประโยชน์ส่วนตวั โดยไมค่ ำนงึ ถึงสว่ นรวม - การทิง้ ขยะลงแมน่ ้ำลำคลอง - การฉีดสารเรง่ เนอ้ื แดงในสัตวเ์ ลี้ยง โดยเฉพาะสกุ ร ซึง่ มผี ลตอ่ โรคภยั ไขเ้ จ็บ ในมนษุ ย์ เช่น โรคมะเร็งเป็นต้น (sutudndk08. 2557) การสรา้ งจติ สำนึกสาธารณะตอ้ งมคี ุณลกั ษณะ ดังน้ี 1. การทุ่มเทและอุทิศตน สิทธิของพลเมืองจะต้องสอดคล้องกับความรับผิดชอบต่อ สังคม บุคคล ไม่เพียงแต่ปฏิบัติตามสิทธิเท่านั้น แต่ต้องปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือให้บริการแก่บุคคลอื่น เพ่ือพัฒนา สังคมด้วย อาทิ ถ้าต้องการให้ผู้แทนราษฎรมีความรับผิดชอบต่อความต้องการและ

7-8 ประโยชน์ของประชาชน ประชาชนก็ต้องให้ความใส่ใจและติดตาม ไม่เพียงทำการหย่อนบัตรเลือกตั้ง เท่านนั้ ต้องเสยี สละเวลาให้ในการเขา้ ไปมีสว่ นรว่ มกับการเมอื งระดับท้องถิน่ และในสถาบนั ต่าง ๆ 2. เคารพความแตกต่างระหว่างบคุ คล จากกระแสปัจเจกชนนิยม ส่งผลให้คนในสังคมมี ลักษณะ ปิดกั้นตนเอง ไม่ไว้วางใจผู้อื่น เลือกคบเฉพาะกลุ่มท่ีมีความเหมือนกัน ไม่สนใจการเมือง ทำให้ไม่สามารถปฏิบัติภารกิจของสังคมเพ่ือผลประโยชน์ของส่วนรวม เกิดข้อขัดแย้ง การยุติ ข้อขัดแย้ง โดยการฟังเสียงข้างมาก ไม่นำไปสู่ประโยชน์ของส่วนรวม ดังนั้นผู้มีจิตสาธารณะต้องเป็น พลเมือง ในฐานะท่ีเป็นเอกลักษณ์ทางการเมืองสมัยใหม่ มีความอดทน ตระหนักว่าการมีส่วนร่วมไม่ ทำให้ได้อย่างที่ต้องการเสมอไป ต้องเคารพและยอมรับความแตกต่างที่หลากหลาย และหาวิธีอยู่ รว่ มกับความขัดแย้ง โดยการแสวงหาทางออกรว่ มกนั การจำแนกประเดน็ ปัญหา การใช้เหตุผลในการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การตัดสินใจ ต้องมีการพูดแลกเปล่ียนความคิดเห็นระหว่างกันให้มากที่สุด เพ่อื หาขอ้ ยุติ สรา้ งการเขา้ รว่ มรับรู้ ตัดสนิ ใจและผนึกกำลงั เพอ่ื ให้เกิดการยอมรบั จากทกุ ฝา่ ย 3. คำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม คนในสังคมต้องคิดถึงการเมืองในฐานะ กิจการเพ่อื สว่ นรวมและเพือ่ คุณธรรมมากขึ้น 4. การลงมอื กระทำ การวิพากษว์ ิจารณ์ปญั หาที่เกิดข้ึนเพยี งอย่างเดียวไม่สามารถ ทำให้ สถานการณ์ดีข้ึนต้องลงมือกระทำ โดยเริ่มจากครอบครัวในการวางพ้ืนฐาน ให้การอบรมด้าน จริยธรรมของพลเมือง มหาวิทยาลัยไม่เพียงเป็นสถานท่ีฝึกทักษะและให้ความรู้ ต้องรับช่วงต่อในการ สร้างค่านิยมที่เหมาะสมต่อจากครอบครัว รวมทั้งเครือขา่ ยสังคมท่ีเกิดข้ึนระหว่างเพื่อนบ้าน ท่ีทำงาน สโมสร สมาคมต่าง ๆ เช่ือมโยงบุคคลที่สนใจเร่ืองของตนเข้าเป็นกลุ่มที่ใส่ใจผู้อ่ืน ช่วยดำรงรักษา ประชาชน สังคม และกฎจริยธรรม รวมท้ังสถาบันที่มีอิทธิพลสูงต่อสังคม คือสถาบันศาสนา และ สอ่ื มวลชนนบั ว่ามีบทบาทสำคญั ในการรว่ มสรา้ งใหส้ งั คมเข้มแขง็ (ยทุ ธนา วรุณปติ กิ ุล, 2542)

7-9 เอกสารอา้ งองิ ชัยวัฒน์ ถิระพนั ธ์ุ. (2542). ปั้นแตง่ อนาคตสงั คมไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชา สงั คม. ประเวศ วะส.ี (2541). ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจสังคมและศีลธรรม. กรงุ เทพฯ: หมอชาวบ้าน. ไพบูลย์ วฒั นศิริธรรม และสังคม สัญจร. (2543). สำนึกไทยท่ีพงึ ปรารถนา. กรงุ เทพฯ: เดอื นตลุ า. มาโนช ดา่ นพนัง. (2560). การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม. [ออนไลน์] สบื คน้ จาก: https://sites.google.com/a/samakkhi. ac.th/withy-phun-than- w23102/naewthang-kar-xnuraks-thraphyakrthrrmchati. ยุทธนา วรณุ ปิตกิ ุล. (2542). สำนกึ พลเมือง. กรงุ เทพฯ: มูลนิธิการเรยี นรู้และพฒั นาประชาสังคม. อนุชิต จุรีเกษและสรสิริ วรวรรณ. (2559). การสร้างจิตสำนึกของการเป็นพลโลกที่ดี. [ออนไลน์] สืบค้นจาก: https://www.trueplookpanya.com/knowledge /content/50214/- edu-teaartedu-teaart-teaarttea. sutudndk08. (2557). จติ สาธารณะ. [ออนไลน์] สบื คน้ จาก: https://sutudndk08.wordpress. com/category/กิจกรรมจิตสาธารณะในชมุ /.

7-10 แบบฝึกหัด/กิจกรรมทา้ ยบท 4 คาบ บทท่ี 7 การสรา้ งจิตสำนึก ความตระหนักด้านสง่ิ แวดลอ้ ม 1. การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสามารถทำได้กีว่ ธิ ี อะไรบา้ ง 2. จงอธิบายและยกตัวอย่างการสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ มแกเ่ ยาวชนว่าสามารถทำได้อย่างไรบ้าง 3. จิตสำนึกสาธารณะคืออะไร 4. จงยกตัวอย่างแนวคิดใน การสร้างจิตสำนึกสาธารณ ะที่ เก่ียวกับ การอนุ รักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 5. จงเสนอแนวทางในการสร้างจติ สำนกึ สาธารณะแก่เยาวชน

8-1 แผนบรหิ ารการสอน บทที่ 8 นโยบายและแผนสิง่ แวดล้อม กฎหมายทเี่ ก่ียวข้อง และกรณศี กึ ษา 4 คาบ เน้อื หาหลกั ประจำบท 1. นโยบายส่งิ แวดล้อม 2. แผนสิง่ แวดล้อมระดบั ประเทศ และระดบั ภูมภิ าค 3. กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง 4. กรณศี ึกษา วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1. เพือ่ ให้ผู้ศึกษามคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายส่ิงแวดลอ้ ม แผนส่งิ แวดล้อม ระดบั ประเทศ และระดบั ภูมิภาค และกรณีศกึ ษา 2. เพอ่ื ให้ผศู้ ึกษาสามารถประยกุ ตใ์ ชก้ ฎหมายที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการสิง่ แวดล้อม กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. ซกั ถามความร้พู ้นื ฐานเกย่ี วกับนโยบายส่งิ แวดลอ้ ม แผนสิ่งแวดลอ้ มระดับประเทศ และ ระดับภมู ภิ าค 2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอนด้านนโยบายและแผนสิ่งแวดลอ้ ม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และ กรณีศึกษา 3. แบ่งกลุ่มสรุปประเดน็ รว่ มแสดงความคิดเห็น 4. รว่ มอภปิ รายเนอ้ื หาและทำแบบฝกึ หัด 5. ค้นคว้ากรณีศึกษาดา้ นการประยุกตใ์ ชด้ ้านการจัดการส่ิงแวดลอ้ ม สือ่ การเรยี นการสอน 1. การบรรยายประกอบ Power Point 2. แบบฝึกหัด 3. แบบทดสอบย่อย 4. เอกสารประกอบการบรรยาย 5. คอมพิวเตอร์

8-2 การวดั ประเมินผล 1. คะแนนกจิ กรรมกลุ่มในห้องเรียน แบบฝึกหดั และรายงานกรณีศึกษา ความสนใจใน ห้องเรยี น และการฝึกปฏิบัตริ ายบุคคล 2. ตงั้ คำถามในเนอื้ หาท่ีสอน 3. สงั เกตพฤติกรรมการเรียน การทำงานกลุ่มและผลการอภิปรายของกลุ่มในการสรปุ เนือ้ หา 4. ตรวจแบบฝึกหัดและกรณีศึกษาท่ีมอบหมาย

8-3 บทที่ 8 นโยบายและแผนส่ิงแวดลอ้ ม กฎหมายท่เี กยี่ วข้อง และกรณีศึกษา ธิดารตั น์ คำลอ้ ม บทนำ การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันมีตัวแปรท่ีสำคัญคือการกระจายอำนาจการบริหาร จั ด ก า ร ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ไป สู่ ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต า ม รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 และพระราชกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2554 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2549 ทำให้แต่ละท้องถ่ินมุ่งที่จะ บริหารจัดการส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่ของตนโดยมิได้คำนึงถึงพ้ืนท่ีท่ีคาบเกี่ยวกันระหว่างท้องถิ่น เน่ืองจากลักษณะภูมิศาสตร์หรือระบบนิเวศตามธรรมชาติของพ้ืนที่น้ัน หรือเพ่ือประโยชน์ในการ จัดการอย่างเป็นระบบตามหลักการจัดการคุณภาพส่ิงแวดล้อมท่ีถูกต้องและเหมาะสม เพื่อให้เกิด ความเชื่อมโยงการบริหารจัดการส่ิงแวดล้อมในระดับชาติ ระดับจังหวัด และระดับท้องถ่ิน ท่ีสอดคล้องกับแผนการจัดการคุณภาพส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2560 - 2564 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2564 ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดล้อมของพื้นท่ี สภาพเศรษฐกิจและสังคม และกำหนดกลยุทธ์ให้เหมาะสมกบั ปัจจัยภายในและ ปัจจัยภายนอก ตลอดจนมีเป้าหมายและตัวช้ีวัดเพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางการบ ริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีจะเอ้ืออำนวยให้การจัดทำแผนปฏิบัติการท้ังในระดับกลุ่ม จังหวัดและท้องถิ่นมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพ่ือมุ่งให้ประชาชนได้มีการดำรงชีวิตอยู่อย่างมี ความสุขภายใต้คุณภาพสิ่งแวดล้อมท่ีดี ภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ิน รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน ภาคประชาชน สถาบันการศึกษา นักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน และเครือข่าย ท รัพ ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จะให้ ความสำคัญ ต่อการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ มให้มปี ระสิทธภิ าพ เป็นมติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม และเกิดความเป็นธรรมตอ่ สงั คม

8-4 8.1 นโยบายสงิ่ แวดลอ้ ม 8.1.1 ความหมาย นโยบายสิ่งแวดล้อม (Environmental Policy) คือ แถลงการณ์ขององค์กรถึงความ ต้งั ใจ มุ่งมนั่ และหลักการในการทำงานด้านการจัดการสงิ่ แวดล้อมโดยรวมเพื่อสภาพแวดลอ้ มที่ดีของ สังคม นโยบายจึงเป็นกรอบสำหรับการดำเนินการขององค์กรและเพื่อการจัดตั้งวัตถุประสงค์และ เป้าหมายส่ิงแวดลอ้ ม นโยบายเป็นตัวสำคัญในการขับเคลื่อนกลไกในการปฏิบัติ และปรับปรุงระบบการ จัดการส่ิงแวดล้อมขององค์กร เพื่อให้สามารถรักษาและปรับปรุงผลงานด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งต้อง สอดคล้องกับกฎหมาย และระบุถึงความตั้งในมุ่งม่ันของผู้บริหารระดับสูงในอันที่จะปฏิบัติตาม กฎหมายและปรับปรุงระบบใหด้ ีขนึ้ เร่อื ย ๆ เพอื่ ประโยชน์ทางการคา้ การดำเนินการและอืน่ ๆ นโยบายต้องชัดเจนและง่ายต่อการอธิบายต่อคนงานในองค์กรและผู้สนใจท่ั วไปพร้อม ทงั้ สามารถปรับเปล่ยี นให้ทันต่อเหตุการณ์และข้อมูลอยู่เสมอ นโยบายน้ียังควรสอดคลอ้ งกับนโยบาย ด้านอื่น ๆ ขององค์กร เชน่ นโยบายด้านคุณภาพ ความปลอดภยั ฯลฯ นโยบายควรสะท้อนถึงสภาวะ และข้อมูลที่เปล่ียนแปลงไป นโยบายจะนำไปใช้กับส่วนงานใดบ้างก็ควรจะช้ีบ่งให้ชัดเจนลงไป ผู้บริหารสูงสุดขององค์กรควรกำหนดนโยบายส่ิงแวดล้อมและจัดทำเป็นเอกสาร ในกรณีที่องค์กรน้ี เป็นส่วนหนึ่งขององค์กรใหญ่ นโยบายควรอยู่ในกรอบของนโยบายขององค์กรใหญ่ โดยท่ีองค์กรใหญ่ น้ันยอมรับด้วย ซ่ึงผู้บริหารอาจเป็นบุคคลคนเดียวหรือเป็นคณะกรรมการก็ได้ ซึ่งมีหน้าท่ีรับผิดชอบ ในการดำเนินงานโดยรวมขององคก์ รนนั้ ๆ (พิสทุ ธ์ิ และณฐั วญิ ญ,์ 2562) 8.1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องนโยบาย นโยบายสิ่งแวดล้อมจะต้องเผยแพร่ให้กับบุคลากรภายในองค์กรได้ทราบ โดยการ กำหนดลักษณะการดำเนินงานท่ีสำคัญท่ีแสดงถึงจุดมุ่งหมายขององค์กร นโยบายส่ิงแวดล้อมเป็น ตัวกำหนดทิศทางและแสดงความมุ่งม่ันในการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กร ผู้บริหารสูงสุด ขององค์กรต้องกำหนดและเผยแพร่นโยบายส่ิงแวดล้อม โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับลักษณะ ประเภท ขนาดของธุรกิจ และปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กร นโยบายส่ิงแวดล้อมต้องมีความ เฉพาะเจาะจง ชัดเจนและเป็นท่ีเข้าใจไปในทิศทางเดียวกันท้ังภายในองค์กร ตลอดถึงผู้มีส่วนได้ส่วน เสียและจะต้องมีการทบทวนและปรับปรุงนโยบายส่ิงแวดล้อมเป็นระยะ ๆ ให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ทเ่ี ปลย่ี นไป 8.1.3 การจดั ทำนโยบาย ในการจัดทำนโยบายน้ันจะต้องมีการดำเนินการโดยผู้บริหารสูงสุดเป็นหลัก หรือเป็น ผชู้ ้แี นวทางในการจดั ทำนโยบายทถี่ กู ต้อง และผ้ดู ำเนินการจะตอ้ งเปน็ ผู้จดั ทำนโยบายและนำนโยบาย ไปปฏิบัติ ซ่ึงมีแนวทางในการกำหนดเพ่ือให้ตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับองค์กร

8-5 เช่น ผู้ร่วมถือหุ้น ผู้ร่วมลงทุน ชุมชนรอบข้างหรือเพ่ือนบ้าน ผู้รับประกัน คู่แข่งทางธุรกิจ องค์กร อสิ ระด้านสง่ิ แวดล้อม ผู้กำหนดกฎหมาย ผู้สง่ มอบวตั ถดุ ิบ ความคิดเหน็ ของชุมชน พนกั งานในองค์กร ผู้บริโภค เป็นต้น กลุ่มบุคคลเหล่านี้คือบุคคลท่ีจะรับทราบถึงนโยบายขององค์กร ซึ่งเป็นที่แน่นอนว่า แต่ละกลมุ่ กต็ ้องการรับข้อมูลหรอื ผลประโยชนท์ างดา้ น นโยบายสง่ิ แวดลอ้ มแตกต่างกนั ไป 8.1.4 การดำเนนิ งานทางดา้ นส่งิ แวดลอ้ มทด่ี ี การแสดงถึงการดำเนินงานทางด้านสิ่งแวดล้อมและสร้างความสัมพันธ์อันดี รวมไปถึง ภาพพจนท์ ี่ดตี ่อสังคมและชมุ ชน จะเห็นได้ว่าความแตกตา่ งของกลุ่มบคุ คลย่อมมจี ดุ ประสงค์ในการรับ ข้อมูลข่าวสารแตกต่างกันไป และไม่ใช่ว่าองค์กรใดที่ไม่มีนโยบายส่ิงแวดล้อมจะไม่มีการดำเนินงาน ด้านส่ิงแวดล้อมในองค์กร ในบางองค์กรจะรวมเอาเร่ืองของสิ่งแวดล้อมอยู่ในการดำเนินงานของ องค์กรด้วยแลว้ ซ่ึงโดยมากจะรวมถึงด้านสุขภาพอนามยั ความปลอดภยั สิง่ แวดล้อม แรงงานสมั พนั ธ์ ซึ่งมาตรการเหล่าน้ีทราบกันดีในแง่ของมาตรการทางด้านสังคม ซึ่งเป็นมาตรการในการดำเนินงาน ร่วมกัน ซง่ึ ถ้าจะใหม้ คี วามเฉพาะเจาะจงก็ต้องมกี ารกำหนดนโยบายเฉพาะขน้ึ มาไม่ว่าจะ เป็นนโยบาย ส่ิงแวดลอ้ ม หรือนโยบายดา้ นสงั คมกต็ ามขนั้ ตอนในการจดั ทำนโยบายดังต่อไปน้ี 1) การกำหนดนโยบาย 2) การเผยแพร่นโยบาย 3) การทบทวนและปรับปรงุ นโยบายส่ิงแวดล้อม 8.1.5 การกำหนดนโยบายสง่ิ แวดลอ้ ม ผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้กำหนดนโยบายส่ิงแวดล้อม หรือให้ทิศทางแล้วมอบหมายให้ คณะจัดทำฯ ร่างนโยบายและนำมาเสนอให้พิจารณานโยบายส่ิงแวดล้อม เน้ือหาท่ีจะต้องนำมาบรรจุ ล ง ใน น โย บ า ย สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เป็ น เรื่ อ ง ท่ี จ ะ ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า อ ย่ า ง ร อ บ ค อ บ เนื่ อ ง จ า ก แ ต่ ล ะ อ ง ค์ ก ร มีจุดมุ่งหมายที่แตกต่างกัน มีปรัชญาในการดำเนินงานแตกต่างกัน ซึ่งองค์กรจะต้องคาดหวังว่า นโยบายจะต้องปฏิบัติได้ มีความเฉพาะเจาะจง และจะต้องเป็นที่ประทับใจของลูกค้าหรือผู้พบเห็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งชุมชนหรือคู่แข่งทางธุรกิจ นโยบายส่ิงแวดล้อมควรมีพ้ืนฐานมาจากการทบทวน สถานะเบื้องต้นทางด้านสิ่งแวดล้อม นโยบายจะไม่มีความหมายเลยถ้าไม่มีความมุ่งมั่นในการ ดำเนินงานที่จะปรับปรุงและพัฒนาส่ิงแวดล้อม นโยบายส่ิงแวดล้อมจะต้องครอบคลุมประเด็น ดังตอ่ ไปน้ี 1) เหมาะสมกับลักษณะ ขนาด และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากกิจกรรม สินค้า หรอื บริการขององคก์ าร 2) แสดงความมุ่งม่ันที่จะปรับปรุงอย่างต่อเน่ืองและป้องกันมลภาวะด้วยการใช้ กระบวนการ กรรมวิธี วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่หลีกเลี่ยง ลด หรือควบคุมมลพิษ ซ่ึงอาจรวมถึงการ

8-6 หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ การใช้ประโยชน์จากของเสีย การบำบัด การเปล่ียนแปลงกระบวนการผลิต กรรมวิธคี วบคมุ การใช้ทรพั ยากรอย่างมีประสิทธภิ าพ และการใช้วสั ดุทดแทน 1) แสดงถึงความมุ่งมั่นต่อการปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อบังคับ รวมถึงข้อกำหนด ต่าง ๆ ที่องค์กรเป็นสมาชิกอยู่ 2) เป็นแนวทางที่ใช้ในการกำหนดและทบทวนวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้าน สิ่งแวดลอ้ ม 3) มีการบันทึกไว้ นำไปปฏิบตั แิ ละการรักษา เพอื่ ส่ือสารตอ่ พนักงานทกุ คน เช่น รวมไว้ ในค่มู ือพนักงานหรือแยกสว่ นไว้ต่างหาก 4) เปิดเผยตอ่ สาธารณชน เชน่ ปดิ ประกาศไว้ในห้องโถง และมแี จกถ้ามีผูข้ อดู นโยบายสิ่งแวดล้อมต้องจัดทำเป็นลายลักษณ์อักษร มีการลงนามโดยผู้บริหารระดับสูงสุด รวมทั้งลงวัน เดือน ปี ทมี่ ีผลบังคับใชด้ ้วย นโยบายสิ่งแวดล้อมควรเป็นแนวทางหรือหลักการ ส้ัน ๆ และกว้างท่ีพิมพ์เผยแพร่ นอกจากน้ี ยงั มแี นวทางของกลุม่ อตุ สาหกรรมแตล่ ะกลมุ่ ซง่ึ รวมไปถงึ แนวทางการ ดำเนินงานดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มด้วย เช่น มาตรการของกลุ่มอุตสาหกรรมรถยนต์ กลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น มาตรการของ กลุ่มอุตสาหกรรมเหล่าน้ีก็สามารถนำมากำหนดเป็นนโยบายขององค์กรได้ เช่น การประหยดั พลงั งาน การประหยัดน้ำ การป้องกันการเกิดมลพิษ การปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง หรือการลดปริมาณของเสีย อันตราย เป็นต้น นโยบายจึงเป็นส่วนสำคัญในการใช้สำหรับการจัดทำวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ส่วนรายละเอียดและเป้าหมายนั้นจะเขียนไว้ในวัตถุประสงค์และเป้าหมายในขั้น ตอนของการ วางแผน เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายอีกทีหนึ่ง ในกรณีท่ีมีหน่วยงานในองค์กรใหญ่ ซ่ึงมีนโยบาย ทางด้านสิง่ แวดล้อมอยแู่ ล้ว นโยบายของหน่วยงานควรสอดคลอ้ งกับนโยบายขององค์กรใหญ่โดยอาจ มขี อ้ จำกดั เฉพาะลงไปอีกได้ เอกสารนโยบายส่ิงแวดล้อมในระบบการจดั การส่ิงแวดล้อมขององค์กรเปน็ เอกสารระดบั แรก ๆ ในระบบ ฯ ซึ่งแสดงถึงความมุ่งมั่นขององค์กร ปัจจุบันหลาย ๆ องค์กรมักมีการจัดทำวิสัยทัศน์ของ องค์กรมากกว่านโยบาย ซึ่งในวิสัยทัศน์จะรวมถึงแนวทางในการกำหนดวัตถุประสงค์ทางด้าน ส่ิงแวดล้อมไว้ด้วย โดยมากเอกสารนโยบายสิ่งแวดล้อมจะถูกระบุไว้ในคู่มือส่ิงแวดล้อม ซ่ึงเป็น เอกสารระดับสูงสุดขององค์กร อย่างไรก็ตามการเผยแพร่นโยบายซ่ึงโดยมากองค์กรติดประกาศ นโยบายไว้ตามที่ต่าง ๆ ในองค์กรด้วย ซึ่งเอกสารนโยบายส่ิงแวดล้อมเหล่านั้นก็ต้องควบคุม (ตามแนวทางการควบคมุ เอกสาร) ตามจดุ ทน่ี ำไปติดดว้ ย

8-7 8.1.6 เผยแพร่นโยบายส่งิ แวดล้อม 1) การเผยแพร่ภายในองคก์ ร ต้องทำความเข้าใจนโยบายส่ิงแวดล้อมให้แก่พนักงานทุกคน ทุกระดับ รวมทั้ง ผูร้ บั เหมาท่ีเข้ามาทำงานในพ้ืนท่ีขององค์กรด้วยแลว้ ใหน้ ำนโยบายไปปฏิบัตอิ ยา่ งจริงจังและสม่ำเสมอ แต่ทำอย่างไรให้พนักงานทุกคนเข้าใจ และรู้จักวิธีการดำเนินงานที่ถูกต้องตามนโยบายดังกล่าว คือ จะต้องทราบว่ากิจกรรมที่ตนเองทำน้ันส่งผลกระทบอะไรต่อส่ิงแวดล้อมบ้าง และมีแนวทางในการ ดำเนินการเพ่ือควบคุมปัญหาส่ิงแวดล้อมนั้นอย่างไร ฉะน้ันจึงต้องมีการฝึกอบรมความตระหนัก ทางดา้ นสิง่ แวดล้อม แต่มิใชใ่ ห้พนกั งานสามารถทอ่ งจำได้ 2) การเผยแพร่ภายนอกองคก์ ร นโยบายสิ่งแวดล้อมสามารถเปิดเผยต่อสาธารณชนท่ัวไป หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน หรือหน่วยงานต่างประเทศ ที่เป็นทั้งลูกค้า โดยเฉพาะผู้ที่ส่งวัตถดุ ิบหรือผสู้ ่งมอบ ผู้ ทีต่ อ้ งการทราบ การเผยแพรอ่ าจทำเปน็ เอกสาร ขา่ วสาร หรอื หนังสือพิมพ์ และการเผยแพร่ตอ่ ชุมชน โดยรอบอาจจัดทำป้ายขนาดใหญ่หรือการส่งเอกสารเพ่ือเผยแพร่อื่น ๆ ก็ได้ การเผยแพร่สู่ภายนอก นั้นก็เฉพาะผู้ท่ีเกี่ยวข้องเท่าน้ัน เช่น ลูกค้า ผู้ส่งมอบสินค้า ผู้ส่งมอบวัตถุดิบ ผู้ที่ได้รับผลกระทบ สงิ่ แวดลอ้ มจากองค์กร ภายนอกองคก์ รไม่ใชท่ กุ คน 8.1.7 วิธกี ารทบทวนและปรับปรงุ นโยบายสงิ่ แวดลอ้ ม เนื่องจากสภาพการณ์ต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกองค์กรมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ ดังน้นั ผู้บริหารสูงสดุ ต้องมกี ารทบทวนและปรับปรุงนโยบายส่งิ แวดลอ้ มให้เหมาะสมกับสภาพการณท์ ี่ เปลี่ยนแปลงไป โดยอาจกำหนดระยะเวลาในการปรับปรุงเปล่ียนแปลงแก้ไขตามความเหมะสมหรือ ถ้านโยบายที่กำหนดไว้ยังคงมีความทันสมัย เหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม นโยบาย สิ่งแวดล้อมดังกล่าวก็ยังสามารถใช้ได้ก็ให้คงไว้ได้ ในการทบทวนและปรับปรุงนโยบายนั้นจะอาจมา จากคณะกรรมการดำเนินการ พนักงาน หรือผู้บริหารเองก็ได้ ซึ่งต้องมีการส่ือสารนโยบายใหม่ให้กับ คณะกรรมการบริหารพิจารณาตามลำดับ จนกระท่ังถึงคณะกรรมการบริหารองค์กรและผู้บริหาร สูงสุด ซ่ึงนโยบายใหม่ทุกคนจะต้องเห็นพ้องกันในการปรับปรุงระบบการจัดการส่ิงแวดล้อมในดีขึ้น อย่างตอ่ เนือ่ ง จากนั้นก็ประกาศใชแ้ ละดำเนนิ การเข้าสูว่ งจรของระบบการจัดการส่ิงแวดลอ้ มต่อไป 8.1.8 การกระทำทม่ี ุ่งมั่นในการปฏิบตั ติ ามนโยบาย ความมุ่งม่นั ของนโยบายควรคำนึงถึงกิจกรรม ผลิตภัณฑ์หรือการบริการท่ีอาจกอ่ ใหเ้ กิด ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ซ่ึงนอกเหนือจากการปฏิบัติตามข้อบังคับและกฎหมายแล้ว ยังอาจแสดง ความมุ่งมนั่ ท่ีจะทำการต่อไปนี้ (สืบพงศ์ และอมิ รอน, 2557) 1) นโยบายสิ่งแวดล้อมจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุดขององค์กร และต้อง ม่ันใจว่านโยบายจะได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการบริหารในองค์กรด้วย

8-8 2) ตอ้ งแสดงถึงความมุ่งมัน่ ในการปฏบิ ัตติ ามกฎหมายและกฎระเบยี บอื่น ๆ ท่เี ก่ียวข้อง ทางด้านสง่ิ แวดล้อม และองค์กรจะต้องปฏิบัติใหไ้ ด้ดว้ ย 3) ต้องแสดงถึงความมุ่งม่ันในการเผยแพร่นโยบาย และผลการดำเนินงานด้าน สง่ิ แวดลอ้ มกบั องคก์ รภายนอกหรอื ผ้ทู ่เี ก่ยี วข้องอื่น ๆ 4) ลดผลกระทบอันร้ายแรงโดยการใช้วิธีจัดการสิ่งแวดล้อมโดยรวม (Integrated Environmental Management) และการวางแผน 5) จัดทำข้นั ตอนในการวดั ผลการปฏิบตั ิการด้านสงิ่ แวดลอม และตัวดัชนีท่ีเกย่ี วข้องกับ มาตรการทางดา้ นสิ่งแวดล้อม 6) รวมวิธีคิดวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Analysis) และพยายามปฏิบัติให้ได้มากท่ีสุด ซ่ึงไม่เพียงแต่จะเป็นการพัฒนาระบบการจัดการส่ิงแวดล้อม แต่ยังเป็นการป้องกันผลกระทบ สิ่งแวดลอ้ มทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต 7) ออกแบบผลิตภัณฑ์ให้ลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมในการผลิต การใช้และการทิ้ง ของเสยี ในกระบวนการผลิต 8) ป้องกันมลพิษ ลดปริมาณของเสีย และความต้องการทรัพยากร เช่น วัตถุดับ เชื้อเพลงิ และพลังงาน มงุ่ มนั่ ท่จี ะนำ้ กลับมาใช้หมุนเวยี นและสกดั ของมีคา่ แทนการทิ้ง 9) การให้การศึกษาและฝึกอบรมแก่ พนักงาน สาธารณชน ลูกค้า ผู้ส่งมอบ ผู้รับจ้าง หรือแมแ้ ต่นักศึกษาฝึกงาน ฯลฯ 10) การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เช่น จากการประชมุ การแสดงความคิดเหน็ ตอ่ สาธารณะ 11) การเข้าร่วมและติดต่อกับกลุ่มผู้ที่สนใจ แสดงถึงความมุ่งมั่นในการจัดการ สิ่งแวดลอ้ มตามนโยบาย 12) พยายามเขา้ สู่การพฒั นาแบบยั่งยนื (Sustainable Development) 13) สนับสนุนให้มีการใช้ระบบการจัดการส่ิงแวดล้อมให้ผู้ขายส่งและผู้รับเหมาของ องคก์ ร โดยการสนบั สนุนในด้านการเงนิ ด้านเทคนคิ หรือด้านบุคลากรก็ได้ 14) สร้างมาตรการในการลดการใช้ทรัพยากรหรือใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ไฟฟา้ นำ้ นำ้ มนั เป็นต้น 15) มั่นใจได้ว่าการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมสอดคล้องกับนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม ดว้ ย 16) จัดทำรายงานประจำปี ซึ่งต้องแสดงถึงข้อมูล ข่าวสารที่จำเป็นทแ่ี สดงถึงสถานภาพ การดำเนินงานด้านสงิ่ แวดลอ้ มขององคก์ รไวด้ ้วย

8-9 8.1.9 สิ่งสำคัญสำหรับนโยบายส่งิ แวดลอ้ ม 1) ข้อตกลงท่ีองค์กรได้ทำไว้กับชุมชนโดยรอบ ถือเป็นส่ิงท่ีต้องนำไปปฏิบัติด้วย เนื่องจากถ้ามีปัญหาส่ิงแวดล้อมเกิดข้ึน ชุมชนโดยรอบจะต้องอ้างนโยบายท่ีองค์กรได้แถลงต่อชุมชน กอ่ นเสมอ ฉะนน้ั จะตอ้ งดำเนนิ การตามนโยบายอยา่ งเครง่ ครดั ทสี่ ดุ 2) ควรระบุในนโยบายสิ่งแวดล้อมถึงการเปิดเผยนโยบายฯ ต่อสาธารณชน ในสภาพ ความเป็นจริงอาจระบุเช่นนั้นก็ได้ แตบ่ างองค์กรอาจมีการเปิดเผยต่อสาธารณะชนแล้วก็ไมต่ ้องระบุก็ ได้ แตส่ ่งิ สำคญั คือการปฏิบัติเพอ่ื ให้ชุมชนรอบขา้ งได้ทราบถึงนโยบายขององค์กร 3) ควรนำผลจากการทบทวนสถานะปัจจุบันของการดำเนินงานด้านส่ิงแวดล้อมมาใช้ ในการกำหนดนโยบายด้วย การทบทวนทำให้ทราบการดำเนินการในปัจจุบันและปัญหาท่ีเกิดขึ้นกับ องค์กร และสามารถนำปัญหาเหล่านั้นมากำหนดเป็นนโยบายก็ได้ โดยสรุปแลว้ นโยบายสิ่งแวดล้อมเปน็ เอกสารท่ีแสดงถึงหน้าตาและมาตรการในด้านการ จัดการส่ิงแวดล้อมซึ่งกำหนดโดยองค์กรเอง นโยบายส่ิงแวดล้อมแสดงถึงข้อมูลข่าวสารที่ให้พนักงาน ในองค์กรและสาธารณชน ทราบถึงเป้าหมายขององค์กรในการท่ีจะควบคุมและปรับปรุงปัญหา สิ่งแวดล้อมของ องคก์ ร ซึง่ มหี ลักการในการกำหนดนโยบายสงิ่ แวดลอ้ มอยู่ 4 ประการคอื 1) นโยบายสิ่งแวดล้อมจะต้องได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงขององค์กร ซ่ึง สามารถกำหนดได้จากลายเซ็นของผบู้ รหิ าร และความมุง่ ม่ันในการปฏบิ ตั ติ ามนโยบายท่เี กดิ ขึ้น 2) จะตอ้ งมกี ารปรบั ปรุงหรอื พฒั นาการจัดการส่งิ แวดลอ้ มตามระยะเวลาที่เหมาะสม 3) จะตอ้ งเผยแพรน่ โยบายสงิ่ แวดล้อมสู่สาธารณชนภายนอก 4) นโยบายส่ิงแวดล้อมจะต้องได้รับการทบทวนให้ทันสมัยอยู่เสมอ และต้องได้รับการ ตรวจสอบวา่ ยังมีการปฏบิ ตั ิอยา่ งสม่ำเสมอ ซึ่งกิจกรรมดงั กล่าวจะถูกดำเนินการโดยการตรวจประเมิน ระบบ ฯ ภายในหรือภายนอก และเปน็ การทบทวนระบบ ฯ หลังจากถกู ตรวจประเมินแลว้ ใน ปั จ จุ บั น ก ารข ย าย ตั ว ท างเศ รษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั งค ม แ ล ะค ว าม ต้ อ งก ารใช้ ทรัพยากรธรรมชาติที่เพ่ิมข้ึน เป็นสาเหตุสำคัญของความเส่ือมโทรมของทรัพยากรทางธรรมชาติและ ปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีทวีความรุนแรงมากข้ึน เช่น ปัญหามลพิษอากาศในเมืองเนื่องจากปริมาณการใช้ รถยนตบ์ นท้องถนนที่เพิ่มสูงขึ้น ปัญหาการจดั การขยะมลู ฝอย การปนเปื้อนของมลพิษในส่ิงแวดล้อม ล้วนก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของประชาชน เป็นต้น ในการนี้ การ กำหนดหลักการและความความมุ่งม่ันในรูปแบบของนโยบายขององค์กรในด้านการบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อม (Organization Environmental Policy) ถือเป็นเรือ่ งสำคัญ ซึ่งสร้างผลประโยชน์ให้แก่ องค์กรและชุมชนรอบข้าง ส่งเสริมให้เกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติร่วมกับการรักษาสภาวะ แวดล้อมท่ีดี ลดค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงทางการเงินที่อาจเกิดข้ึนจากการละเมิดข้อกำหนดทางด้าน สิง่ แวดล้อม

8-10 นโยบายสิ่งแวดล้อม (Environmental Policy) เป็นการแถลงการณ์ขององค์กรที่แสดง ให้เห็นถึงความตั้งใจ มุ่งมั่น ในหลักการด้านการบริหารจัดการส่ิงแวดล้อมเพื่อสภาพแวดล้อมท่ีดีของ องค์กรและสงั คมรอบขา้ ง โดยนโยบายส่งิ แวดลอ้ มทดี่ ีควรมลี กั ษณะสำคญั กล่าวคอื 1) ความสอดคล้องต่อการพัฒนาและการดำเนินการนโยบายด้านอ่ืน ๆ ขององค์กร เช่น นโยบายด้านคุณภาพ ความปลอดภัย ความเสยี่ ง บคุ ลากร เปน็ ต้น 2) การสนับสนุนให้บุคลากรในองค์กรรับรู้และมีส่วนร่วมในการดำเนินการร่วมกันเพ่ือ บรรลวุ ัตถุประสงค์ของนโยบายน้ัน 3) มีการทบทวนและปรับปรุงนโยบายให้มีความทันสมัยและเหมาะสมกับการ เปลย่ี นแปลงของสถานการณ์โลกโดยรวมอยา่ งต่อเน่ือง นโยบายส่ิงแวดล้อม เป็นการกำหนดวิธีการและเป้าหมายที่ชัดเจนในการจัดการและ แก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม ภายใต้ข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี รวมไปถึงเป้าหมายการพัฒ นาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ซึ่งเป็น เป้าหมายท่ีประชาคมโลกได้กำหนดร่วมกัน ในการพัฒนาประเทศให้ตอบสนองต่อความต้องการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่อย่างจำกัดในปัจจุบัน โดยไม่เบียดเบียนคนรุ่นถัดไป เน้นการสร้างความ สมดุลในมิติของสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมเข้าด้วยกัน เพ่ือก้าวสู่ความย่ังยืนในอนาคต มาตรฐานการกำหนดคุณภาพองค์กร (ISO) ได้กำหนดให้องค์กรมีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมท่ีได้ มาตรฐาน ISO 14001 ซึ่งระบุถึงความตระหนักต่อความสำคัญของการจัดการสิ่งแวดล้อมควบคู่กับ การพัฒนาธุรกิจ โดยองค์กรจะได้รับประโยชน์ในแง่การลดค่าใช้จ่ายท่ีเก่ียวข้องกับวัตถุดิบ พลังงาน และการบำบัดมลพิษ ก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และเกิดภาพลักษณ์ท่ีดี โดย ISO14001 มีหลักการท่ีสำคัญคือ การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมซ่ึงจัดเป็นข้อเร่ิมต้นในการดำเนินการตามมา ด้วยการวางแผนเพ่ือสนองต่อนโยบาย การนำไปปฏิบัติและดำเนินการ การตรวจสอบและการแก้ไข และการปรับปรุงนโยบายให้ดีข้ึนอย่างต่อเน่ือง นอกจากนี้ หน่วยงานของรฐั ยังให้ความสำคัญแก่การ ผลิตท่เี ป็นมติ รตอ่ ส่งิ แวดล้อม โดยการมอบรางวลั ให้แก่องค์กรที่มกี ารกำหนดนโยบายสิง่ แวดลอ้ มหรือ มแี ผนการดำเนินการดา้ นสิง่ แวดล้อมที่ชัดเจน เช่น รางวัล Green Industry (กระทรวงอุตสาหกรรม) เมอื งสิ่งแวดล้อมยั่งยืน (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม) เปน็ ต้น 8.1.10 การจัดทำนโยบายสิง่ แวดลอ้ ม การจัดทำนโยบายสิ่งแวดล้อมให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ควรเร่ิมจากความตั้งใจและ มงุ่ ม่ันของผู้บริหารสูงสุดขององค์กร ในการผลักดันให้เกิดการจัดการส่ิงแวดล้อมและการสร้างสภาวะ แวดล้อมท่ีดีขององค์กรและสังคม ในกรณีขององค์กรขนาดใหญ่ องค์กรหลักควรเป็นผู้กำหนด นโยบายส่ิงแวดลอ้ ม เพื่อให้องค์กรในเครอื ข่ายปฏิบัติตามในทิศทางเดียวกัน ดังนัน้ การกำหนดทศิ ทาง ของนโยบายส่ิงแวดล้อมขององค์กรจึงต้องสอดคล้องกับพันธกิจหลักขององค์กรหลักและองค์กร

8-11 เครือข่าย และเป็นการปฏิบัติตามกฎหมาย วางแผนการดำเนินการตามนโยบายที่กำหนดไว้ ติดตาม การดำเนินการและตรวจสอบแก้ไข และปรับปรุงนโยบายให้ดีขึ้น โดยการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมี ส่วนร่วม (Cooperate Environmental Management, CEM) เป็นหน่ึงในแนวคิดด้านการบริหาร จัดการองค์กรด้านสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นเคร่อื งมือหน่ึงทชี่ ่วยผลักดันให้เกิดความสำเร็จในการ สร้างและดำเนินการตามนโยบายส่งิ แวดล้อมขององค์กร มอี งคป์ ระกอบ 3 ประการ ดังนี้ ภาพที่ 8.1 นโยบายสงิ่ แวดลอ้ มขององค์กร 1) ธรรมาภิบาลสิง่ แวดลอ้ มขององคก์ ร (Environmental Governance) ในการจัดการส่ิงแวดล้อมท่ีดีและยั่งยืน องค์กรต้องคำนึงถึงมาตรการในการ จัดการสถานที่ทำงาน (Workplace) เช่น การประเมินความเส่ียงด้านสิ่งแวดล้อม เช่น SEA EHIA หรือ EIA โดยการจัดการอย่างยั่งยืนต้องมีการวางแผนการใช้ทรัพยากรและการจัดหาวัตถุดิบ (Resource and Raw Material) ผ่านกระบวนการหลากหลายแนวคิดที่นำมาใช้ในการวางแผนการ ใช้ทรัพยากรอย่างย่งั ยืนได้ เช่น Water-Food-Energy Nexus ที่เปน็ การมองภาพรวมและผลกระทบ ท่ีเชื่อมโยงของทรัพยากรหลายประเภท และการใช้ทรัพยากรท่ีหลากหลายอย่างสมดุล นอกจากนี้

8-12 องค์กรควรให้ความสำคัญในด้านการขนส่งและการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานเพื่อลดผลกร ะทบ สิง่ แวดลอ้ ม (Green Supply Chain Management) 2) พฤตกิ รรมท่ีเป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อม (Pro-environment Behavior) การสนับสนุนให้บุคลากรในองค์กรมีพฤติกรรมท่ีก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ส่ิงแวดล้อมน้อยที่สุด และยังมีแนวปฏิบัติท่ีก่อให้เกิดผลดีต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมโดยรวม การสร้าง พฤติกรรมดังกล่าวสามารถทำได้โดยการให้ความรู้แก่บุคลากรในองค์กรด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ ถูกต้องเหมาะสม การสร้างความตระหนักและค่านิยมด้านการใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า ซึ่งจะ สนับสนุนให้เกิดกรอบแนวคิด (Mindset) ที่ประกอบไปด้วยความตระหนัก ความรู้และความเข้าใจท่ี ถกู ต้อง ในการสร้างพฤติกรรมท่ีเปน็ มิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยผบู้ ริหารมีส่วนในการสนับสนนุ ให้เกิดการ สร้างเครื่องมือและสื่อที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการส่ือสาร (Communication) เพ่ือเผยแพร่ความรู้ และแนวปฏิบัติให้บุคลากรในองค์กรและบุคคลภายนอกท่ีสนใจได้รับทราบ และก่อให้เกิดการมีส่วน ร่วมกับภาคสังคมอยา่ งยัง่ ยนื ต่อไป 3. นวัตกรรมดา้ นสง่ิ แวดล้อม (Environmental Innovation) เป็นการประยุกต์ใช้แนวคิดด้านการสร้างสรรค์และต่อยอดนวัตกรรมท้ัง 4 ประเภท ได้แก่ Product Process Service และ Business Model เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการ บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กร ยกตัวอย่างเช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างมูลค่าเพิ่ม (Product and Added Value) ให้เป็นผลิตภัณฑ์สีเขียว ต้ังแต่ข้ันตอนการออกแบบ การจัดซื้อจัด จ้างและการผลติ การประยุกต์ใช้ Smart Technology เพ่ือบำบัดและจัดการของเสียอย่างครบวงจร (Waste Treatment and Management) เพ่ือไม่ให้มลพิษปนเปื้อนออกสู่สิ่งแวดล้อม ภายใต้การ ควบคุมที่มีมาตรฐานสากลยอมรับ การสร้างสรรค์ พัฒนานวัตกรรม และประยุกต์ใช้เครื่องมือและ ระบบบริหารจัดการคุณภาพและส่ิงแวดล้อมท้ัง 3 เคร่ืองมือหลักอย่างเหมาะสม ได้แก่ มาตรการ บังคับและควบคุม (การบังคับใช้กฎหมาย การติดตามตรวจสอบ) เคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตร์ (เคร่ืองมือด้านการเงินการคลัง เครื่องมือที่ใช้กลไกตลาด เครื่องมือสร้างแรงจูงใจ) และเครื่องมือชนิด อนื่ ๆ (เทคโนโลยีสะอาด การประเมนิ วฏั จักรของผลติ ภัณฑ์ เป็นต้น) โดยสรุป การบรรลุเป้าหมายของนโยบายสิ่งแวดล้อมต้องอาศัยปัจจัยหลายประการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงบุคลากรขององค์กรท่ีมีความมุ่งม่ัน ตั้งใจ และมีความรู้ความสามารถเฉพาะทางใน การจัดการสิ่งแวดล้อม ในการน้ี นักสิ่งแวดล้อม (Environmentalist) จึงมีบทบาทสำคัญต่อการร่วม ออกแบบ วางแผน และดำเนินแผนงานตามนโยบายส่ิงแวดล้อมขององค์กร ทั้งในด้านการให้ความรู้ ความเข้าใจท่ีถกู ตอ้ งเก่ียวกับการจัดการสิ่งแวดล้อม การประเมินความเสย่ี งดา้ นส่ิงแวดล้อมและความ ปลอดภัย การจัดการของเสียและการบำบัดมลพิษ การบริหารจัดการทรัพยากรเพ่ือลดปริมาณของ เสียท่ีเกิดขึ้น เป็นต้น นอกจากน้ี วิศวกรส่ิงแวดล้อมยังควรมีส่วนร่วมในการประเมินความเป็นไปได้

8-13 และความเหมาะสมของนโยบายสิ่งแวดล้อม รวมถึงความสอดคลอ้ งต่อพันธกิจขององค์กร เพ่อื ให้เกิด การดำเนินงานตามแผนท่ีวางไว้อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงติดตามการดำเนินการและตรวจสอบแก้ไข และปรับปรุงนโยบายโดยรวมให้ดีข้ึนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้องค์กรของเราร่วมเป็นส่วนหน่ึงในการ สร้างโลกสวยด้วยธรุ กจิ และการมสี ่วนรว่ มของ “เรา” 8.2 แผนสิ่งแวดลอ้ มระดับประเทศ และระดับภมู ิภาค 8.2.1 แผนจดั การคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม พ.ศ. 2560-2564 แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป็นแผนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมระดับประเทศ เพ่ือเป็นกรอบช้ีนำให้ภาคีการพัฒนานำไปใช้เป็นแนวทางในการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในช่วงเวลา 5 ปีข้างหน้า และเป็นการดำเนินการตาม มาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 โดยท่ี ผ่านมา ได้มีการประกาศใช้แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมมาแล้ว รวม 4 ฉบับ ได้แก่ แผนจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2542 - 2549 กรอบแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2545 - 2549 แผนจัดการคุณภาพส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2550 - 2554 และแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555 – 2559 การจัดทำแผนจัดการคุณภาพส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2560 - 2564 ได้น้อมนำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มาเป็น แน ว ท างใน ก าร กำห น ด ม าต รก าร เพื่ อให้ ก าร จั ด ก าร แล ะแ ก้ ไข ปั ญ ห าท รั พ ย ากร ธ รร มช าติ แล ะ ส่ิงแวดล้อมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ท้ังภายในและภายนอกประเทศและเป็นเชิงรุก รวมถึงให้ความสำคัญต่อ บทบาทและสิทธิของชุมชน ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ซ่ึงเป็นไปอย่าง สอดคล้องกับแนวคิดของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ท่มี ุ่งเสรมิ สรา้ งภมู ิคุ้มกนั เพ่อื ใหส้ งั คมไทยยืนหยัดได้อยา่ งมั่นคง เกดิ ภูมิคุ้มกนั และมีการบริหารจัดการ ความเสย่ี งอย่างเหมาะสม และส่งผลใหก้ ารพฒั นาประเทศสู่ความสมดลุ และยง่ั ยืน กระบวนการจัดทำแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2560 - 2564 ได้ให้ ความสำคัญต่อกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคีการพัฒนาท่ีเก่ียวข้อง โดยผ่านการระดมความ คิดเห็นในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งการประชุมกลุ่มย่อย การประชุมเชิงปฏิบัติการ และการประชุมรับฟัง ความคิดเหน็ จากหนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน องคก์ รพัฒนาเอกชน และภาคประชาชน ในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และประเทศ เพ่ือให้ได้ แผนจัดการคุณภาพส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2560 - 2564 ท่ีสามารถ ขับเคล่ือนและนำไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิผล และเป็นรูปธรรม นอกจากนี้การจัดทำแผนจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของคณะอนุกรรมการแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม

8-14 และคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติซ่ึงได้เห็นชอบกับแผนจัดการคุณภาพส่ิงแวดล้อม ฯ ฉบับนี้ แล้วเม่ือวันท่ี 21 กันยายน 2559 จากน้ัน จะนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ และประกาศใช้ใน ราชกจิ จานุเบกษาตอ่ ไป ดังนั้น หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ทุกภาคีการพัฒนาท่ีเก่ียวข้องจะได้ให้ความสำคัญต่อการนำ แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2560 - 2564 ไปใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งให้ประเทศมีการพัฒนาที่ยั่งยืนใน ระยะตอ่ ไป (สำนักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม, 2560) ภาพท่ี 8.2 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1

8-15 ภาพที่ 8.3 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ภาพท่ี 8.4 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3

8-16 ภาพที่ 8.5 ยุทธศาสตร์ท่ี 4 8.2.2 แผนปฏิบัติราชการสำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (พ.ศ. 2563 - 2565) 1. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 65 รฐั พึงจัดให้มยี ุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพฒั นาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักธรรมาภิบาลเพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพ่ือให้ เกิดเป็นพลังผลกั ดนั ร่วมกนั ไปสเู่ ปา้ หมายดังกล่าว 2. พระราชบัญญัตกิ ารจดั ทำยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2560 มาตรา 5 กำหนดให้หน่วยงานของรัฐทุกหน่วยมีหน้าท่ีดำเนินการเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายตามท่ีกำหนดไวใ้ นยุทธศาสตร์ชาติ มาตรา 10 หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องที่จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามแผนแม่บท ยุทธศาสตร์รวมท้ังการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณต้องสอดคล้องกับแผนแม่บท ด้วย มาตรา 22 ให้ความร่วมมือกับสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในฐานะเลขานุการฯ ในการประสานงานเกี่ยวกับการดำเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดทำ ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2560

8-17 มาตรา 24 ให้หน่วยงานของรัฐรายงานผลการดำเนินการดังกล่าวต่อสำนักงานภายใน เวลาและตามรายการทส่ี ำนักงานกำหนด มาตรา 26 ในกรณีท่ีความปรากฏต่อคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติว่าการ ดำเนินการใดของหน่วยงานของรฐั ไม่สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ชาติหรือแผนแม่บทให้หน่วยงานของรัฐ นน้ั ดำเนินการแกไ้ ขปรบั ปรงุ แล้วใหแ้ จง้ ให้คณะกรรมการจัดทำยทุ ธศาสตร์ชาตทิ ราบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 และพระราชกฤษฎกี า วา่ ด้วยหลักเกณฑแ์ ละวิธีการบรหิ ารกจิ การบ้านเมืองทดี่ ี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 16 ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการน้ันโดยจัดทำเป็น แผนห้าปี ซ่ึงต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติแผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนา เศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาตินโยบายของคณะรัฐมนตรีท่ีแถลงต่อรัฐสภา และแผนอื่นท่ีเก่ียวข้อง ใน แต่ละปีงบประมาณ ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีโดยให้ระบุสาระสำคัญเกี่ยวกับ นโยบายการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ เป้าหมาย และผลสัมฤทธ์ิของงาน รวมท้ังประมาณการ รายได้และรายจ่ายและทรพั ยากรอ่ืน ท่ีจะต้องใช้เสนอต่อรัฐมนตรีเพ่ือให้ความเห็นชอบ เมื่อรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการใดแล้ว ให้สำนักงบประมาณดำเนินการจัดสรร งบประมาณเพ่อื ปฏิบัติงานใหบ้ รรลุผลสำเร็จ ในแต่ละภารกิจตามแผนปฏิบัติราชการดังกล่าว ในกรณี ท่ีส่วนราชการมิได้เสนอแผนปฏิบัติราชการในภารกิจใด หรือภารกิจใดไม่ได้รับความเห็นชอบจาก รัฐมนตรีมิให้สำนักงบประมาณจัดสรรงบประมาณสำหรับภารกิจน้ัน เมื่อส้ินปีงบประมาณให้ส่วน ราชการจดั ทำรายงานแสดงผลสัมฤทธ์ิของแผนปฏบิ ัติราชการ 8.2.3 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ชาติท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนา ที่ให้ความสำคัญกบั การดึงเอาพลังของภาคส่วน ต่าง ๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถ่ิน มาร่วมขับเคล่ือน โดยการสนับสนุนการรวมตัว ของประชาชนในการร่วมคิดร่วมทำเพ่ือส่วนรวม การกระจาย อำนาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไก บริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทย ท้ังในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม ให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพ่ึงตนเอง และทำประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้ นานท่ีสุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและสวัสดิการที่มีคุณภาพอย่างเป็นธรรม และท่ัวถึง ประกอบไปด้วยประเด็นยุทธศาสตร์ จำนวน 4 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ (1) การลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ (2) การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และ เทคโนโลยี (3) การเสริมสร้างพลังทางสังคม (4) การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถ่ินในการ พัฒนา การพ่ึงตนเอง และการจดั การตนเอง ยุทธศาสตร์ชาติที่ 5 ด้านการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพ

8-18 ชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพ่ือนนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการ พัฒนาที่ย่ังยืนในทุกมิติท้ังด้านสังคม เศรษฐกิจส่ิงแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความ ร่วมมือระหว่างกัน ทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พื้นที่เป็นตัวต้ังในการกำหนด กลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องได้เข้ามา มีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากท่ีสุด เท่าที่จะเป็นไปได้โดยเป็นการดำเนินการบนพ้ืนฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสำคัญกับการสร้างสมดุลทั้ง 3 ด้าน อันจะนำไปสู่ความ ยั่งยืนเพ่ือคนรุ่นต่อไปอย่างแท้จริง ประกอบไปด้วยประเด็นยุทธศาสตร์ จำนวน 6 ประเด็น ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ (1) สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว (2) สร้างการเติบโตอย่าง ย่ังยืน บนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล (3) สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมท่ีเป็นมิตรต่อสภาพ ภูมิอากาศ (4) พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเน้นความเป็น เมืองที่เติบโตอย่างต่อเน่ือง (5) พัฒนาความมั่นคงน้ำ พลังงาน และเกษตรท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม (6) ยกระดับกระบวนทศั น์เพื่อกำหนดอนาคตประเทศ ภาพที่ 8.6 เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ง่ั ยนื

8-19 ภาพที่ 8.7 อนาคตประเทศไทย 2579 ภาพที่ 8.8 ยทุ ธศาสตรช์ าติ

8-20 8.2.4 ตวั อยา่ งระบบการจดั การสิ่งแวดลอ้ มของเทศบาลนครภเู ก็ต 1) ขอบเขตของระบบการจดั การส่งิ แวดล้อม การกำกับและควบคมุ การเดนิ ระบบรวบรวมน้ำเสยี ระบบระบายนำ้ ระบบบำบัด น้ำเสีย และการจัดการส่ิงแวดล้อมของเทศบาลนครภูเก็ตซ่ึงครอบคลุมโรงงานปรับปรุงคุณภาพน้ำ การระบายน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ สถานีสูบน้ำเสีย 3 แห่ง ได้แก่ สถานีสูบน้ำ เสียทุ่งคาฮาเบอร์ สถานีสูบน้ำเสียศรีสุทัศน์ สถานีสูบน้ำเสียสวนหลวง ร.9 และสถานีสูบระบายน้ำ 8 แห่ง ได้แก่ สถานีสูบน้ำสามกอง สถานีสูบน้ำข้างโรงพยาบาลกรงุ เทพฯ สถานสี ูบโกมารภจั จ์ สถานี สูบถนนเทพกระษัตรี สถานีสูบตะก่ัวป่า สถานีสูบโบสถ์คริสตจักร สถานีสูบสะพานหิน สถานีสูบ ชุมชนถนนหลวงพ่อ รวมไปถึงการนำของเสียจากกระบวนการกลับไปใช้ใหม่ การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูล จะถือปฏิบัติตามนโยบายสิ่งแวดล้อมที่กำหนดไว้ในคู่มือส่ิงแวดล้อม ฉบับน้ี ตลอดจน การมอบหมายอำนาจหน้าทใี่ ห้กับผู้ปฏบิ ตั ิงานปฏิบัติตามคู่มือส่งิ แวดล้อม ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานและ วิธกี ารปฏบิ ตั ิงานเพอ่ื ให้สอดคลอ้ งตามข้อกำหนดของระบบการจดั การสง่ิ แวดล้อม ISO14001:2015 2) กิจกรรมและการดำเนินงานของโรงงานปรับปรุงคุณภาพน้ำ ของเทศบาลนครภเู ก็ต ที่อยู่: โรงงานปรับปรุงคุณภาพน้ำ เทศบาลนครภูเก็ต ถนนรัตนโกสินทร์ 200 ปี ตำบลวิชิต อำเภอเมือง จังหวดั ภเู ก็ต โทร 076-250304 3) ประวตั ิความเป็นมา จังหวัดภูเก็ตเป็นแหล่งท่องเท่ียวที่สำคัญแห่งหน่ึงในพ้ืนที่ชายฝ่ังทะเลด้าน ตะวันตกของภาคใต้ ซ่ึงมีแหล่งท่องเท่ียวมากมายทั้งแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ และแหล่ง ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจากปริมาณของนักท่องเท่ียวท่ีมีจำนวนมากขึ้นทุก ๆ ปี ทำให้จังหวัดภูเก็ต ประสบปญั หาเช่นเดยี วกับเมอื งใหญต่ า่ ง ๆ คอื ปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม เทศบาลฯ จึงได้ก่อสร้างโรงงานปรับปรุงคุณภาพน้ำข้ึน โดยในระยะที่ 1 ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี 2540 งบประมาณจากกรมโยธาธิการ และระยะท่ี 2 ก่อสรา้ งแล้วเสร็จเมื่อปี 2546 งบประมาณจากกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม โรงงานปรับปรุงคุณภาพน้ำเสีย ประกอบไปด้วย อาคารดักน้ำเสีย จำนวน 128 แห่ง สถานีสูบนำ้ เสยี 3 แหง่ ความสามารถในการบำบัดนำ้ เสยี 36,000 ลูกบาศก์เมตร/วนั ตง้ั อยู่ ในพื้นท่ีประมาณ 33 ไร่ ประเภทของระบบบำบัดน้ำเสียเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบคลองวนเวียน (Oxidation Ditch) ชนิดตะกอนเร่ง ซ่ึงสามารถกำจัดไนโตรเจน และฟอสฟอรัสได้ และมีการระบาย น้ำท้ิงท่ีผ่านการบำบัดเรียบร้อยแล้วลงท่ีคลองบางใหญ่ ปัจจุบันโรงงานปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียอยู่ใน ความรับผิดชอบดูแลของกลุ่มงานสิ่งแวดล้อม สำนักการช่างเทศบาลนครภูเก็ต โดยได้ว่าจ้างบริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จำกัด เป็นผู้ควบคุมการเดินระบบบำบัดน้ำเสียและบำรุงรักษาระบบ บำบัดน้ำเสยี

8-21 4) นโยบายสิ่งแวดลอ้ ม นโยบายส่ิงแวดล้อมของเทศบาลฯ ได้ถูกกำหนด และอนุมัติโดยนายกเทศมนตรี เทศบาลนครภูเก็ต นโยบายสิ่งแวดล้อมแสดงถึงความมุ่งม่ันของผู้บริหารสูงสุดในการดำเนินการ จัดการสิ่งแวดล้อม นโยบายสิ่งแวดล้อมของเทศบาลฯ สะท้อนถึงเป้าหมายในการจัดการสิ่งแวดล้อม ของเทศบาล ฯ และกำหนดแนวทางสำหรับการพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การทบทวนนโยบาย ส่ิงแวดล้อมจะพจิ ารณาถงึ ลักษณะปญั หาส่ิงแวดล้อมที่สำคญั ข้อกำหนดทางกฎหมาย และข้อกำหนด อื่น ๆ ด้านสิ่งแวดล้อมท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ังการพัฒนาปรับปรุงที่จำเป็นเพ่ือให้การดำเนินการด้าน ส่ิงแวดลอ้ มเปน็ ไปอย่างเหมาะสม นโยบายสิ่งแวดล้อมจะสื่อสารให้กับพนักงานทุกคนโดยผ่านการฝึกอบรม การติด ประกาศภายในเทศบาลฯ การติดป้ายประกาศในโรงงานปรับปรุงคุณภาพน้ำ ผู้แทนฝ่ายบริหารการ จัดการสิ่งแวดล้อมหรือผู้ชว่ ยผแู้ ทนฝ่ายบริหารการจัดการสิง่ แวดลอ้ ม มีหน้าที่รบั ผิดชอบเพื่อให้ม่ันใจ ว่าพนักงานภายในหน่วยงาน มีความเข้าใจ และปฏิบัติตามแนวทางของนโยบายสิ่งแวดล้อมของ เทศบาล ฯ รวมถึงสื่อสารไปยังผขู้ ายสินค้า/ผู้รับเหมาท่ีเข้ามาปฏิบัติงานในนามของเทศบาลฯ ภายใน พืน้ ท่ขี องโรงงานปรับปรุงคุณภาพน้ำ (เทศบาลนครภูเกต็ , 2562) 8.3 กฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ ง 8.3.1 ความหมาย กฎหมายสิ่งแวดล้อม คือ กฎหมายประเภทหนึ่ง มักตราข้ึนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นหลัก เนื้อหาครอบคลุมการป้องกันและเยียวยาความเสื่อมโทรมแห่งสุขภาพท้ังของมนุษย์และ อมนุษย์ และมักคาบเก่ียวกับกฎหมายจารีตประเพณี สนธิสัญญา ข้อตกลง พันธกรณี กฎระเบียบ และนโยบาย ฯลฯ หลากชนดิ กฎหมายสิ่งแวดลอ้ มของบางประเภทอาจกำหนดคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม และจำกดั เงื่อนไข ในการดำเนินกิจการบางประเภทของมนุษย์ เช่น กำหนดปริมาณของภาวะมลพิษที่จะให้มีได้ หรือ กำหนดให้ต้องมีการวางแผนและการตรวจสอบกิจการบางอย่าง เป็นต้น นโยบายของรัฐ เป็นต้นว่า มาตรการกันไว้ดีกว่าแก้ (Precautionary Principles) การมีส่วนร่วมของประชาชน การจัดต้ังศาล สิ่งแวดล้อม และมาตรการใครทำคนน้ันจ่าย (Polluter Pay Principles) ล้วนเป็นลักษณะหนึ่งของ กฎหมายสิ่งแวดล้อม ได้มีการริเร่ิมจะให้มีกฎหมายสิ่งแวดล้อมขึ้นเป็นคร้ังแรกในยุคปฏิวั ติ อุตสาหกรรมประมาณช่วง พ.ศ. 2503 อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่านานาประเทศในโลกจะได้ตรากฎหมาย สิง่ แวดล้อมข้ึน แตก่ ลไกแหง่ กฎหมายดังกล่าวก็มักไม่ประสบผล และในปจั จบุ ันกฎหมายสิ่งแวดลอ้ มก็ ถูกมองว่าเป็นเครือ่ งมือหน่ึงในการโฆษณาและส่งเสรมิ กลไกการพัฒนาอย่างย่ังยืนการปฏิรูปกฎหมาย สิ่งแวดล้อมในขณะน้ี เป็นไปเพื่อพัฒนามาตรการด้านสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิมท่ีใช้

8-22 มาตรการบังคับและควบคุม (Command and Control) ซ่ึงผู้คนมักไม่พึงใจนัก ผลส่วนหนึ่งที่ได้จาก การปฏริ ูปดังกล่าว เป็นตน้ วา่ การจัดเกบ็ ภาษีส่ิงแวดลอ้ ม การวางมาตรฐานบางอย่าง เชน่ ISO14000 8.3.2 ตวั อยา่ งกฎหมายสง่ิ แวดล้อม (สยาม, 2557) 1) พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 บัญญัติ ขึ้นเพื่อป้องกันปัญหาความเสื่อมโทรมของคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น ดินเสีย น้ำเน่า อากาศเป็นพิษ ป่าไม้ ต้นน้ำลำธารถูกทำลาย อันเน่ืองมาจากการขยายตัวของประชากร การใช้ทรัพยากรอย่างไม่ ถูกต้อง และอุตสาหกรรม โดยส่งเสริมประชาชนและองค์กรเอกชนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมและ รักษาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม กำหนดอำนาจหน้าทข่ี องส่วนราชการ รฐั วิสาหกจิ และราชการส่วนท้องถิ่น และกำหนดแนวทางปฏิบัติในส่วนท่ีไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบโดยตรง กำหนดมาตรการควบคุม มลพิษด้วยการจัดให้มีระบบบำบัดอากาศเสีย ระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบกำจัดของเสีย และเครื่องมือ หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับมลพิษ และหน้าท่ีความรับผิดชอบของผู้ท่ีเก่ียวข้องกับ การก่อให้เกิดมลพิษตลอดจนให้มีกองทุนสิ่งแวดล้อม การบังคับใช้กฎหมายฉบับน้ีจึงเป็นการวาง กรอบนโยบายเก่ียวกับสง่ิ แวดลอ้ ม การกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม การวางแผนการจัดการ คุณภาพส่ิงแวดล้อม การประกาศเขตอนุรักษ์และพ้ืนท่ีคุ้มครองส่ิงแวดล้อม การกำหนดให้โครงการ ขนาดใหญ่จะต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม เป็นต้น แต่มิได้มีบทบัญญัติ เกย่ี วกบั การเก็บรวบรวมหรอื การรีไซเคลิ เศษเหลือทิ้งของเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกสใ์ ด ๆ 2) พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เป็นกฎหมายที่ออกใช้เพ่ือควบคุมดูแลการ ประกอบ กิจการโรงงานให้เหมาะสม โดยกำหนดให้แบ่งโรงงานตามประเภทชนิดหรือขนาด โรงงาน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ โรงงานจำพวกที่ 1 โรงงานจำพวกที่ 2 หรือโรงงานจำพวกที่ 3 แล้วแต่กรณี กฎหมายกำหนดให้โรงงานจำพวกใดจำพวกหนึ่งหรือทุกจำพวกต้องปฏิบัติตามในเรื่อง ที่ต้ัง สภาพแวดล้อม ลักษณะอาคารและลักษณะภายในของโรงงาน ลักษณะและชนิดของเครื่องจักร เคร่ืองอุปกรณ์ คนงานท่ีต้องมีความรตู้ ามประเภทชนิดหรือขนาดของโรงงาน หลักเกณฑ์ที่ต้องปฏิบัติ กรรมวิธีการผลิต เคร่ืองมืออุปกรณ์เพ่ือป้องกันหรือระงับหรือบรรเทาอันตราย ความเสียหาย ความ เดือดร้อนที่อาจเกิดแก่บุคคลหรือทรัพย์สินในโรงงานหรอื ที่อยู่ใกล้เคียง มาตรฐานและวิธีควบคุมการ ปลอ่ ยของเสีย มลพิษท่ีมีผลกระทบกับส่ิงแวดล้อม การจัดให้มีเอกสารเพ่ือการควบคุมหรือตรวจสอบ ข้อมูลท่ีจำเป็นที่ผู้ประกอบกิจการจะต้องแจ้งตามระยะเวลาท่ีกำหนด และการอ่ืนใดท่ีคุ้มครองความ ปลอดภัยในการดำเนินงาน เช่น ในมาตรา 8(4) ได้กำหนดหลักเกณฑ์ท่ีต้องปฏิบัติ กรรมวิธีการผลิต และการจดั ให้มีอุปกรณ์หรอื เคร่อื งมืออื่นใด เพ่ือป้องกันหรอื ระงับหรือบรรเทาอันตรายความเสียหาย หรือความเดือดร้อนท่ีอาจเกิดแก่บุคคลหรือทรัพย์สินที่อยู่ในโรงงานหรือที่อยู่ใกล้เคียงกั บโรงงาน

8-23 ซึ่งอาจใช้อำนาจดังกล่าวในการกำหนดให้โรงงานปฏิบัติเกี่ยวกับการรีไซเคิลวัสดุเหลือท้ิงจาก กระบวนการผลิต และการหา้ มไมใ่ ห้ใช้สารอันตรายบางอยา่ งในกระบวนการผลิต 3) พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 เป็นกฎหมาย จัดตั้งการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพ่ือให้เป็นองค์กรท่ีทำหน้าที่จัดหาพ้ืนท่ีตั้งนิคม อุตสาหกรรม แลว้ จดั ให้เช่า เช่าซ้อื หรอื ขาย และให้บริการแกผ่ ปู้ ระกอบอตุ สาหกรรม และผูป้ ระกอบ กิจการที่เป็นประโยชน์หรือต่อเนื่องกับผู้ประกอบอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรม กฎหมายยังได้ กำหนดสิทธิประโยชน์ของผู้ประกอบอุตสาหกรรมด้านต่าง ๆ เป็นต้นว่าผู้ประกอบอุตสาหกรรมอาจ ได้รับอนุญาตให้ถือกรรมสิทธิ์ในท่ีดินในนิคมอุตสาหกรรมตามจำนวนเนื้อที่ที่คณะกรรมการ เห็นสมควร แม้จะเกินกำหนดที่จะพึงมีได้ตามกฎหมายอื่น ได้รับอนุญาตให้นำคนต่างด้าวซึ่งเป็น ช่างฝมี อื ผู้ชำนาญการ คู่สมรส และบุคคลซ่ึงอยูใ่ นอปุ การะเขา้ มาในราชอาณาจักร ได้ตามจำนวนและ ภายในกำหนดระยะเวลาตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร แม้จะเกินจำนวนหรือระยะเวลาตาม กฎหมายว่าด้วยคนเขา้ เมอื ง อนุญาตให้นำหรือส่งเงนิ ทุน เงินก้ตู ่างประเทศ หรือเงินตามข้อผกู พันออก นอกราชอาณาจักรเป็นเงินตราต่างประเทศได้ การกำหนดเง่ือนไขบางอย่างให้ผู้ประกอบการในนิคม อุตสาหกรรมปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการของเสียในกระบวนการผลิต คงเป็นไปในทำนองเดียวกันกับ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ซ่ึงไม่สามารถกำหนดเลยไปถึงข้ันตอนหลังการขายที่ได้จำหน่าย ให้กบั ผู้บรโิ ภคแลว้ 4) พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เป็นกฎหมายที่ขยายขอบเขตการกำกับ ดูแลกิจการท่ีเก่ียวข้องกับการสาธารณสุขในด้านต่าง ๆ ให้กว้างขวางขึน้ เพ่ือสามารถนำมาปรับใช้กับ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ทันท่วงที กำหนดมาตรการกำกับดูแลและป้องกันเกี่ยวกับการอนามัย ส่ิงแวดล้อมไว้อย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ ปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับการควบคุมให้มีลักษณะ การกำกับดแู ลและติดตาม และปรับปรงุ อำนาจหน้าท่ีของเจ้าหน้าที่และบทกำหนดโทษตามกฎหมาย ปัจจุบันให้สามารถบังคับให้มีการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายอย่างเคร่งครัด เพื่อให้เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพของสังคมปัจจุบัน และเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในด้านการกำกับดูแลและ ป้องกันเก่ียวกับการอนามัยส่ิงแวดล้อม กฎหมายฉบับน้ีให้อำนาจกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ เจ้าพนักงานสาธารณสุขในการควบคุมดูแลและอนุญาตกิจการที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของ ประชาชน และกำหนดการเก็บ ขน และกำจัดขยะมูลฝอย ให้เป็นหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ิน ดังน้ัน จึงมีอำนาจจำกัดเฉพาะเร่ือง ไม่อาจที่จะกำหนดหน้าที่ของผู้ประกอบการในการเรียก คืนเศษเหลือทิ้งของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่จำหน่ายให้กับผู้บริโภคแล้ว คงทำได้แต่เพียง การเกบ็ ขนขยะดงั กลา่ วและนำไปกำจดั ตามหน้าทโ่ี ดยใช้งบประมาณของตนเอง 5) พระราชบัญ ญั ติวัตถุอันตราย พ .ศ. 2535 เป็นกฎหมายท่ีออกมายกเลิก พระราชบัญญัติวัตถุมีพิษ พ.ศ. 2510 และพระราชบัญญัติวัตถุมีพิษ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 เน่ืองจาก

8-24 ปรากฏว่ามีการนำวัตถุอันตรายมาใช้ในกิจการประเภทต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก และวัตถุอันตรายบาง ชนิดอาจก่อใหเ้ กดิ อันตรายอย่างรา้ ยแรงแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ และส่ิงแวดล้อมได้ แม้วา่ ในขณะน้ี จะมีกฎหมายท่ีใช้ควบคุมวัตถุท่ีก่อให้เกิดอันตรายอยู่บ้างแล้วก็ตาม แต่ก็มีอยู่หลายฉบับและอยู่ใน อำนาจหน้าที่ของหลายกระทรวง ทบวง กรม ซงึ่ กฎหมายเหล่านน้ั ได้ออกมาต่างยคุ ต่างสมัยกัน ทำให้ มีบทบัญญัติที่แตกต่างกันและยังไม่ครอบคลุมเพียงพอ สมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยวัตถุมีพิษโดย ขยายขอบเขตให้ครอบคลุมวัตถุอันตรายต่าง ๆ ทุกชนิด และกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการ ควบคุมวัตถุอันตรายให้เหมาะสมยิ่งข้ึน พร้อมกับจัดระบบบริหารให้มีการประสานงานกันระหว่าง หนว่ ยงานต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วข้องกันกบั การควบคมุ ดูแลวตั ถอุ ันตรายดงั กลา่ วด้วย กฎหมายฉบบั นใ้ี ช้บงั คับ กับบุคคลใดท่ีผลิต นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย แต่มิได้มีบทบัญญัติ กำหนดให้ผู้ผลติ ต้องเรยี กคนื เศษเหลอื ทงิ้ วัตถุท่ใี ช้แลว้ มาบำบดั หรือรีไซเคลิ 6) พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 บัญญัติข้ึนเพื่อกำหนด มาตรฐานสำหรับผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรมเพ่ือประโยชน์ในการสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม เพือ่ ความปลอดภัย หรือเพ่ือป้องกันความเสียหายอันอาจจะเกิดแก่ประชาชนหรือแก่กิจการอุตสาหกรรม หรือเศรษฐกิจ ของประเทศ กฎหมายมีการแก้ไขเพ่ิมเติมหลายครั้งเกี่ยวกับ เลขาธิการสำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม องค์ประกอบคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เพ่ิมเติม บทบัญญัติยอมให้ทำหรือนำเข้ามาในราชอาณาจักรซ่ึงผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมท่ีมีพระราชกฤษฎีกา กำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐานของต่างประเทศหรือมาตรฐานระหว่างประเทศ เฉพาะเพ่ือ ประโยชน์ในการส่งออกหรือเมื่อมีความจำเป็นต้องใช้ในราชอาณาจักรเป็นคร้ังคราว ปรับปรุงอำนาจ ของพนักงานเจ้าหน้าที่และของคณะกรรมการและเร่ืองที่เก่ียวกับการควบคุมผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ให้เป็นไปตามมาตรฐานและอัตราโทษสำหรับการกระทำผิด ตลอดจนบทบัญญัติลงโทษผู้แทนนิติ บุคคลกรณีที่นิติบุคคลกระทำผิดกับบทบัญญัติเปรียบเทียบคดีด้วย การเพิ่มเติมบทบัญญัติเก่ียวกับ อำนาจในการกำหนดเงื่อนไขในการออกใบอนุญาต การกำหนดหลักเกณฑ์ในการโอนใบอนุญาต มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเพื่อให้ผู้รับโอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานสามารถประกอบ กิจการผลิตสินค้าได้ทันทีและมีความต่อเนอื่ งไม่หยุดชะงัก เกิดความคลอ่ งตวั และรวดเรว็ เป็นผลดีต่อ ผู้ประกอบการและเศรษฐกิจของประเทศโดยส่วนรวม กฎหมายฉบับนี้ เป็นเคร่ืองมือในการควบคุม ผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรมใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานและอนุญาตให้นำเข้าผลิตภัณฑ์ท่เี ป็นไปตามมาตรฐาน ดังน้ัน อาจใช้ในการคัดเลือกสินค้าท่ีได้มาตรฐานความปลอดภัยเท่าน้ันที่จะอนุญาตให้นำเข้าหรือ จำหน่ายในประเทศ อย่างไรก็ตาม การกำหนดให้ผู้ผลิตต้องเรียกคืนเศษเหลือท้ิงของเคร่ืองใช้ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์นำไปบำบดั หรือรไี ซเคลิ ยังอยนู่ อกกรอบของกฎหมาย 7) กฎหมายเก่ียวกับการจัดการขยะของไทย กฎหมายเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอย ของประเทศไทยมี 2 ลักษณะ คือ กฎหมายการรักษาความสะอาด ห้ามท้ิงขยะมูลฝอยในที่ห้ามและ

8-25 อนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ได้แก่ พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของ บ้านเมือง พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 อีกลักษณะหนึ่ง คือ กฎหมายท่ีกำหนดหน้าท่ีของ ผู้รับผิดชอบในการกำจัดขยะมูลฝอย ซึ่งจะให้อำนาจกับท้องถิ่น ได้แก่ เทศบาล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา หรือองค์การบริหารส่วนตำบล ในการเก็บ ขน กำจัดขยะมูลฝอยในเขตที่ตนมีอำนาจ หน้าท่ี ได้แก่ พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 พระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ. 2495 พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 เป็นต้นส่วนขยะอันตรายจะมี กฎหมายเฉพาะ เชน่ ขยะจากโรงงานอตุ สาหกรรมใช้กฎหมายโรงงาน กฎหมายการนิคมอตุ สาหกรรม หรือกฎหมายวัตถุอันตราย กำกับดูแลแล้วแต่กรณี แต่กเ็ ป็นการกำหนดภาระหน้าที่ของทางโรงงานที่ ต้องจัดการขยะของตนที่เกิดจากกระบวนการผลิตมิให้ปล่อยออกสู่ส่ิงแวดล้อม หรือปล่อยออกภายใต้ การควบคุม โดยกำหนดค่ามาตรฐานมลพิษตามกฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมหรือ กฎหมายสาธารณสุข ผู้กำจัดขยะประเภทน้ีจะต้องเปน็ ผู้ชำนาญการโดยเฉพาะที่ได้รับอนุญาตเท่าน้ัน เช่น เจนโก้แต่ในส่วนของกฎหมายท่ีเก่ียวกับวัตถุอันตรายในการควบคุมนั้น เม่ือผู้ผลิตขายผลิตภัณฑ์ ให้กับผู้บริโภคแล้วหน้าท่ีของผู้ผลิตก็หมดไป ภาระหน้าท่ีในการเก็บรวบรวมนำไปกำจัดจะตกกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่ส่วนใหญ่จะกำจัดขยะทุกประเภทโดยไม่มีการแยกกำจัดขยะมูลฝอย ทั่วไปและขยะอันตราย ขยะที่เป็นเศษเหลือท้ิงของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย นั้นได้รับการดูแลเหมือนขยะทั่วไป บางส่วนอาจถูกแยกนำกลับมาใช้ซ้ำหรือรีไซเคิลโดยผู้ค้าของเก่า ส่วนทีใ่ ช้ไม่ไดแ้ ล้วก็จะถกู ท้ิงรวมไปในขยะมูลฝอยทวั่ ไป ยงั ไมม่ กี ฎหมายเฉพาะท่ีกำหนดมาตรการการ ดูแลเป็นพิเศษ ดังนั้น กฎหมายของไทยจึงขาดความเชื่อมโยงของการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ กอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อสงิ่ แวดล้อม ใช้ทรัพยากรไมค่ ุ้มคา่ และไม่เปน็ ไปตามหลักการ “ผู้กอ่ มลพิษเป็น ผู้จ่าย” ซ่ึงเป็นหลักสากลที่นานาชาติใช้บังคับในประเทศของตน โดยเฉพาะกับสินค้าที่ประเทศไทย ส่งออกไปยังประเทศเหล่านั้น เพิ่มภาระต้นทุนให้กับสินค้าส่งออกของไทย แต่ในทางกลับกันในการ นำเข้าสินค้ามายังประเทศไทย ผู้ผลิตต่างชาติหรอื ผู้นำเข้าไม่ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะ ของตนเพราะไม่มีกฎหมายเรียกเก็บคา่ ใช้จา่ ย ทำให้ต้นทุนการนำสินค้าเข้ามาขายต่ำ ประเทศไทยจึง เปน็ แหล่งที่หลายประเทศระบายสนิ ค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์คุณภาพต่ำ หรือสนิ ค้าใช้แล้ว เข้ามาขายได้ง่าย ราคาถูก ภาระค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะดังกล่าวตกอยู่กับประชาชนคนไทยทุกคน เพราะในแต่ละปรี ัฐบาลจะตอ้ งจัดสรรเงนิ งบประมาณจำนวนมากใหก้ ับองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นใน การจัดการขยะ จึงควรต้องหาทางพัฒนากฎหมายของไทยให้ทัดเทียมกับนานาชาติ เพ่ือจะได้มี มาตรการที่เหมาะสมในการจดั การกบั เศษเหลือท้ิงของเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ต่อไป

8-26 8.3.3 ตัวอยา่ งกฎหมายสงิ่ แวดล้อมเพ่ิมเติม 1) พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 (กำหนดอุทยานแห่งชาติทางทะเลหรือ ชายฝ่ังทะเล) 2) พระราชบัญญัติปา่ สงวนแหง่ ชาติ พ.ศ.2507 (กำหนดใหป้ ่าชายเลนฯ เป็นปา่ สงวน) 3) พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2522 (กำหนดให้เขตชายฝั่งทะเลเป็นเขตรักษา คุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม) 4) พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2521 (การนิคมฯ มี อำนาจในการจัดตง้ั นิคมอตุ สาหกรรมโดยการตราเปน็ พระราชกฤษฎีกาซง่ึ รวมถึงทีด่ ินอันเป็นสาธารณ สมบตั ิของแผ่นดนิ บรเิ วณชายฝ่ัง) 5) พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 (กำหนดเขตห้ามก่อสร้างอาคารบริเวณ ชายฝัง่ ) 6) พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (ห้ามท้ิงส่ิงปฏิกูลหรือมูลฝอยในท่ีหรือ ทางสาธารณะ ซ่งึ รวมถึงทะเลโดยให้อำนาจท้องถิน่ ออกข้อกำหนด ) 7) พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 (หา้ มทงิ้ สิง่ ปฏิกูลลงในทางน้ำซง่ึ รวมถึงทะเล) 8) พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 (กำหนดเขตห้ามตั้งโรงงาน ซ่ึงรวมถึงบริเวณ ชายฝ่งั ) 9) พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 (กำหนด มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลชายฝ่ัง กำหนดเขตพื้นท่ีคุ้มครองสิ่งแวดล้อมได้ กำหนดโครงการท่ีต้อง จดั ทำ EIA การควบคุมมลพษิ จากแหล่งกำเนิด การระบายนำ้ ทิ้งหรือการปล่อยท้ิงของเสีย กำหนดเขต พน้ื ที่ค้มุ ครองส่ิงแวดลอ้ ม: พื้นท่ีควบคมุ มลพิษ) 10) พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. 2543 (ดินมีความหมายรวมถึงทราย ด้วย) 11) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ำเน่ืองจาก นำ้ มนั พ.ศ. 2538 12) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ำเนื่องจาก นำ้ มัน พ.ศ. 2547 13) ระเบยี บสำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยนโยบายและการฟ้ืนฟทู ะเลไทย พ.ศ. 2539 14) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลาย ทางชวี ภาพ พ.ศ. 2543

8-27 15) ประมวลกฎหมายท่ีดิน (ที่ดินของรัฐห้ามผู้ใดครอบครอง ทำลาย ทำให้เสื่อมสภาพ หรือทำสิง่ ใดอนั เปน็ อนั ตรายตอ่ ทรัพยากรในดิน ซึง่ รวมถึงที่ชายฝง่ั ทะเล) 16) พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (เพ่ือควบคุมการนำวัตถุที่ทำลาย สิง่ แวดลอ้ มเข้ามาในราชอาณาจักรทางทะเล) 17) พระราชบัญญัตพิ ลังงานปรมาณูเพ่ือสันติ พ.ศ. 2504 (ควบคุมสารกัมมันตภาพรังสี เชน่ เรอื พลงั งานนิวเคลียร์ หรือเรือบรรทกุ สารกัมมันตภาพรังสี) 18) พระราชบัญญัติธุรกิจนำเท่ียวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 (ควบคุมบริษัทนำเที่ยว และไกด์ไมใ่ หท้ ำลายสง่ิ แวดลอ้ มในสถานท่ที ่องเทยี่ วโดยเฉพาะแหลง่ ธรรมชาต)ิ 19) พระราชบัญญัตินโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ พ.ศ. 2551 (กำหนดนโยบายหรือ มาตรการเพอ่ื ปอ้ งกนั การทำลายส่งิ แวดล้อมในแหล่งท่องเท่ียว) 8.4 กรณีศกึ ษา 8.4.1 กรณีศึกษาธรุ กจิ เขียว 1) มิตรผล จากของเหลือทง้ิ สู่พลังงานทางเลอื กอย่างยงั่ ยนื ในอดีตชานอ้อยถือว่าเป็นของเหลือที่กลุ่มมิตรผล ผู้ผลิตน้ำตาลรายใหญ่ ต้องกำจัดทิ้ง เช่นเดียวกับกากน้ำตาล แต่การตัดสินใจขยายกิจการเข้าสู่ธุรกิจไฟฟ้าเม่ือปี 2545 ชานอ้อยไดก้ ลายมาเป็นวตั ถดุ ิบสำคัญของโรงไฟฟา้ ชวี มวล ขณะที่กากน้ำตาลกถ็ ูกนำมาใช้เปน็ วตั ถดุ ิบ ผลติ เอทานอลในปี 2548 เมือ่ บวกกบั ความใสใ่ จในการดูแลส่งิ แวดล้อม มติ รผลได้ทำให้ออ้ ยกลายเป็น วัตถุดิบของพลังงานหมุนเวยี นท่ีเป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม เคยี งคู่ไปกับการเติบโตทางธุรกิจน้ำตาล และ เป็นเส้นทางการทำธุรกิจที่สร้างประโยชนท์ ้ังตอ่ บริษัทและสง่ิ แวดลอ้ มไปพร้อมกัน 2) อำพลฟดู ส์ โพรเซสซง่ิ ใสน่ วตั กรรมเขียว แปลงขยะเปน็ ความย่งั ยนื กระบวนการผลิตสินค้าต่าง ๆ โดยเฉพาะการผลิตกะทิสำเร็จรูปยูเอชทีตรา ชาวเกาะ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์แรกและผลิตภัณฑ์หลักของบริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซ่ิง จำกัด เคยก่อให้เกิดขยะมากมาย เพราะมะพร้าวที่เข้าสู่โรงงานวันละหลายแสนลูก เม่ือถูกคั้นออกมาเป็น กะทิแล้วของเหลือหรือของเสียต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นน้ำมะพร้าว กะลามะพร้าว เปลือกมะพร้าว กากมะพร้าว น้ำเสียจากการทำความสะอาดเครื่องจักรท่ีมีไขมันปนเปื้อนก็กลายสภาพเป็นของเสีย ท่ีหากปลอ่ ยท้ิงไว้ก็จะส่งผลเสยี ต่อสงิ่ แวดล้อมและชมุ ชน ซ่งึ ย้อนกลับมาเป็นผลเสียตอ่ ภาพลกั ษณข์ อง บริษัท แต่หากกำจัดหรือบำบัดก็เสียค่าใช้จ่ายมหาศาลกลายเป็นต้นทุนทางธุรกิจที่อาจจะทำให้ เสียเปรียบในการแข่งขัน การจัดการของเสียในช่วงต้นของอำพลฟูดส์จึงทำไปตามความจำเป็น จนกระท่ังปี 2548 เมื่ออำพลฟูดส์เจอวิกฤตต้นทุน จากการข้ึนราคาของน้ำมันเตาเช่นเดียวกับการ ขยับตัวของค่าแรง อำพลฟูดส์จึงเร่ิมมองหาทางออกจากวิกฤต และได้พบว่ามีนวัตกรรมเขียวต่าง ๆ

8-28 มากมายสามารถช่วยเปลี่ยนของเสียท่ีบริษัทเคยมองว่าเป็นขยะให้กลายเป็นความย่ังยืนได้ เพราะ นอกจากจะลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหากับชุมชนรอบ ๆ โรงงานแล้ว ยังช่วยเพ่ิมยอดขายและกำไร ใหก้ ับบรษิ ัทได้อีกด้วย จนกลายเปน็ วิถกี ารทำธรุ กิจที่ยงั่ ยนื สไตลอ์ ำพลฟูดส์ 3) ปูนลำปาง Semi-Open Cut Mining ก้าวไกลดว้ ยนวตั กรรมสีเขียวต้นแบบ ต้นทางของอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์คือการทำเหมืองหินปูน ซึ่งถือว่าเป็นข้ัวตรงข้าม ของความย่ังยืน เพราะแม้ว่าปูนซีเมนต์ที่ผลิตได้จะกลายเป็นบ้านเรือนหรือส่ิงก่อสร้างที่มีความ แข็งแรงและอยู่ได้ยาวนาน แต่ปัญหาทางสงั คมและส่ิงแวดล้อมที่เกิดข้ึนจากการทำเหมืองปนู ไม่ว่าจะ เป็นเสียงดัง ความสั่นสะเทือน ฝุ่น การเปลี่ยนแปลงทางภูมิประเทศ ความหลากหลายทางชีวภาพ และภูมิทัศน์ ก็ทำให้ภาพของการทำธุรกิจอย่างยั่งยืนกับอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไม่อาจจะบรรจบกัน ได้ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) หรือ เอสซีจี ผู้ผลิตปูนซีเมนต์รายแรกและรายใหญ่ของ ประเทศไทย จึงคิดหานวัตกรรมการทำเหมืองรูปแบบใหม่เพื่อมุ่งสู่การทำธุรกิจอย่างย่ังยืน และเกือบ 20 ปีแล้วท่ีการทำเหมืองแบบ Semi-Open Cut Mining Method ซ่ึงเอสซีจีได้เริ่มใช้ที่เหมืองปูน ภายใต้การดำเนินงานของ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย (ลำปาง) จำกัด หรือปูนลำปาง ได้พิสูจน์ให้เห็นว่า อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไม่ใช่ข้ัวตรงข้ามกับการทำธุรกิจอย่างยั่งยืนแต่อย่างใด แต่สามารถก้าวเดินไป ด้วยกันได้ หากให้ความสำคัญกับ Triple Bottom Line คือทั้งเร่ืองเศรษฐกิจ (ผลลัพธ์ในการดำเนิน ธรุ กจิ ) สงั คม และสงิ่ แวดล้อมไปพร้อม ๆ กนั 4) ชีวาศรม ความ “ใจถึง” กับการดแู ลสง่ิ แวดล้อม ธุรกิจโรงแรมกับการพัฒนาอย่างย่ังยืน หรือ Sustainability ดูจะเป็นคู่ตรงข้าม เพราะโรงแรมเป็นธรุ กิจท่ีใชท้ รัพยากรมหาศาล เร่ิมต้นต้ังแต่การกอ่ สร้างตึก ห้องพัก สิ่งอำนวยความ สะดวกต่าง ๆ ที่ใส่เข้าไป เม่ือเปิดบริการกต็ ้องใช้ทรัพยากรมากมายสำหรับอำนวยความสะดวกให้กับ แขกท่ีมาพัก น้ำเสียจากโรงแรมก็มักกลายเป็นภาระหนักของหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ ไม่รวมขยะของ เสียต่าง ๆ ที่ต้องกำจัดอีกจำนวนมาก แต่ทุกอย่างมีข้อยกเว้น เพราะตลอดระยะเวลา 19 ปีท่ี ให้บริการมา บริษัท ชีวาศรม อินเตอร์เนช่ันแนล เฮลท์ แอนด์ รีสอร์ต จำกัด เจ้าของ “ชีวาศรม” รีสอร์ทสุขภาพระดับโลก ได้พิสูจน์ให้เห็นต้ังแต่เร่ิมต้นว่า ธุรกิจโรงแรมและการพัฒนาอย่างย่ังยืนไป ด้วยกันได้ ไม่ว่าจะเป็นการนำพลังงานทดแทนเข้ามาใช้ การปรับปรุงอาคารให้ “เขียว” ขึ้น การ บำบดั นำ้ เสยี 100% และทางเลือกทีย่ ง่ั ยืนอ่นื ๆ มาตลอด 19 ปี 5) แปลนทอยส์ เข้าหาลกู ค้าเขยี ว ในภาวะแขง่ ขันสูง ก่อนท่ีกระแสสีเขียวและการทำธุรกิจอย่างยั่งยืนจะเป็นที่รู้จักของคนในวงกว้าง บริษัท แปลน ครีเอชั่นส์ จำกัด ผู้ผลิตของเล่นไม้ “แปลนทอยส์” ได้ใช้แนวคิดน้ีในการทำธุรกิจมา ตลอด 33 ปีที่ ไม่ว่าจะคำนึงถึงต้นไม้ท่ีนำมาใช้เป็นวัตถุดิบ สุขภาพของเด็ก ๆ และคนทำงานใน กระบวนการผลติ จนเกิดเป็นนวัตกรรมสเี ขยี วมากมาย เมื่อผนวกกับความแขง็ แกร่งด้านการออกแบบ

8-29 ของเล่นแปลนทอยส์จึงประสบความสำเร็จในการส่งออกไปท่ัวโลก แต่หลังจากการเปิดประเทศ ก้าวข้ึนสู่เวทีการค้าโลกของประเทศจีน การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ประกอบ กับการเพิ่มข้ึนของค่าแรงและต้นทุนวัตถุดิบ แปลนทอยส์ก็เร่ิมตระหนักว่าความยั่งยืนทางธุรกิจมีมิติ มากกว่าหัวใจ แปลนทอยสจ์ งึ ตอ้ งปรบั ตวั คร้ังใหญเ่ พ่อื พาตวั เองออกมาจากวกิ ฤติทกี่ ำลงั เผชญิ อยู่ 8.4.2 แนวทางสคู่ วามสำเรจ็ ของการพัฒนาเพื่อสิ่งแวดลอ้ มที่ยั่งยืน ประเทศไทยควรมีมาตรการเพื่อพฒั นาไปสสู่ ิ่งแวดลอ้ มทย่ี ง่ั ยืนหลายแนวทางดังนี้ 1) พัฒนาอุตสาหกรรมเชิงอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ซึ่งเป็นอุตสาหกรรม ที่ยึดม่ันในการประกอบกิจการท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน โดยมุ่งเน้นการ พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลิตและการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง รวมถึงความ รบั ผดิ ชอบต่อสังคมทง้ั ภายในและภายนอกองค์กร ตลอดจนห่วงโซ่อุปทาน 2) การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยการออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจหรือ Eco Design (Economic & Ecological Design) ด้วยการผน วกแนวคิดด้านเศรษ ฐกิจและด้าน ส่ิงแวดล้อมเข้าไปในขั้นตอนการออกแบบเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม โดยการนำ หลัก 4 R คือ การลด (Repair) การใช้ซ้ำ (Reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และการซ่อม บำรงุ (Repair) มาประยกุ ตใ์ ช้ในช่วงวงจรชีวติ ผลติ ภณั ฑ์ 3) การจัดเก็บภาษีส่ิงแวดล้อมกับผู้ท่ีก่อให้เกิดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม เช่น อุตสาหกรรมท่ีกอ่ มลพิษเพ่ือลดการก่อมลพิษ 4) อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยมุ่งรักษาฟ้ืนฟูและเขตอนุรักษ์ ปรับปรุงระบบการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังให้มีความสมบูรณ์ตามธรรมชาติ รักษา คุณภาพส่ิงแวดล้อมให้อย่ใู นเกณฑม์ าตรฐาน 5) สง่ เสริมการประหยดั พลังงานในภาคการผลิต ภาคการขนสง่ และการใชใ้ นบ้านเรอื น 6) สร้างระบบบริหารจัดการประเทศเพือ่ นำไปสูก่ ารพัฒนาท่ีสมดลุ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม สงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติของประเทศให้สามารถเป็นปัจจัยการผลิตใน ระยะยาว โดยมีความสมดลุ ระหว่างการผลติ และการอนรุ กั ษ์ (สภุ าสิน,ี 2555) สรปุ องค์กรต้องจัดทำนำไปปฏิบัติและรักษาไว้ซ่ึงข้ันตอนปฏิบัติงาน (ฉบับเดียวหรือมากกว่าน้ัน) เพ่ือชี้บ่งและเข้าถึงกฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ ที่ประยุกต์ใช้ ซึ่งองค์กรเป็นสมาชิกโดยกฎหมาย และข้อกำหนดอื่น ๆ ดังกล่าวเก่ียวข้องกับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมขององค์กร และเพื่อกำหนดว่า ข้อกำหนดต่าง ๆ ดังกล่าว นำไปประยุกต์ใช้กับลักษณะปัญหาส่ิงแวดล้อมขององค์กรอย่างไร องค์กร ต้องมั่นใจว่ากฎหมายและข้อกำหนดอ่ืน ๆ ที่ประยุกต์ใช้ ซ่ึงองค์กรเป็นสมาชิกน้ันได้ถูกพิจารณาใน

8-30 การจดั ทำ นำไปปฏิบัติ และรักษาไวซ้ ึ่งระบบการจดั การส่งิ แวดล้อมองค์กรต้องจดั ทำ นำไปปฏิบัตแิ ละ รักษาไว้ซ่ึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายสิ่งแวดล้อมท่ีเป็นเอกสาร สำหรับหน่วยงานและระดับที่ เก่ียวข้องภายในองค์กรวัตถุประสงค์และเป้าหมายจะต้องวัดผลได้ในกรณีที่สามารถทำได้ และ สอดคล้องกับนโยบายสิ่งแวดล้อม รวมทั้งความมุ่งมั่นที่จะป้องกันมลพิษ ปฏิบัติให้สอดคล้องตาม กฎหมายและข้อกำหนดอ่ืน ๆ ท่ีองค์กรเป็นสมาชิก และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ในการจัดทำและ ทบทวนวัตถุประสงค์และเป้าหมาย องค์กรต้องคำนึงถึงกฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ ที่องค์กรเป็น สมาชิก และพิจารณาถึงลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีสำคัญ ทางเลือกด้านเทคโนโลยีและการเงิน ข้อกำหนดในการปฏิบัติการ และข้อกำหนดทางธุรกิจ รวมถึงมุมมองของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียองค์กร ต้องจัดทำ นำไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซ่ึงโครงการ (โครงการเดียวหรือมากกว่าน้ัน) เพ่ือบรรลุผลตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยโครงการนั้น ๆ ต้องรวมถึง การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ เพื่อ บรรลผุ ลตามวัตถุประสงค์และเปา้ หมาย ในหน่วยงานและระดับท่ีเกยี่ วข้องภายในองค์กร วิธีการและ ชว่ งเวลาดำเนินการให้บรรลผุ ล

8-31 เอกสารอ้างองิ ปา่ สาละ. (2557). ธรุ กิจสเี ขียว. [ออนไลน์]. สบื คน้ จาก: http://www.salforest.com/knowledge. พิสุทธิ์ เพียรมนกุล และณัฐวิญญ์ ชวเลิศพรศิยา. 2562. ส่ิงแวดล้อมเร่ืองของเรา. สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยไี ทย-ญี่ปุ่น (สสท). เทศบาลนครภเู ก็ต. (2562). นโยบายสิ่งแวดล้อม. [ออนไลน์]. สืบคน้ จาก: https://www.phuketcity.go.th/eco/detail/15/data.html. สยาม อรณุ ศรีมรกต. (2557). อาเซียน: กฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม. วารสารรม่ พฤกษ์ มหาวิทยาลยั เกริก ปีที่ 32 ฉบบั ท่ี 3 มิถนุ ายน - กันยายน 2557. สบื พงศ์ สุขสม และอิมรอน มะลูลมี . (2557). การพัฒนานโยบายส่งิ แวดล้อมของกรุงเทพมหานคร. วารสารวชิ าการมหาวทิ ยาลัยอีสเทิรน์ เอเชยี ปที ่ี 4 ฉบบั ท่ี 1 ประจำเดอื นมกราคม - เมษายน 2557. สุภาสนิ ี ตันติศรีสุข. (2555). การพัฒนาเศรษฐกจิ เพือ่ สิง่ แวดลอ้ มท่ยี ่ังยืน. วารสารเศรษฐศาสตร์ สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ปที ่ี 6 ฉบบั ท่ี 2 มีนาคม 2555. เสรี วรพงษ์. (2561). ส่ิงแวดล้อมกับการพัฒนาท่ียั่งยืน. Integrated Social Science Journal. กระทรวงการต่างประเทศ. แผนปฏิบัติการ 21 เพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน. กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทรพ์ ร้ินติ้ง แอนดพ์ บั ลิชชิ่ง จำกดั (มหาชน) สำนักงานจังหวัดภูเก็ต. (2560). ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดภูเก็ต 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561). ภูเกต็ : สำนกั งานจงั หวัดภูเก็ต. สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม. (2560). แผนการจดั การคณุ ภาพ ส่งิ แวดลอ้ ม. [ออนไลน์]. สืบคน้ จาก: https://drive.google.com/file/d/ 0B_5CbQmFLFuPWkN5Uzcxd21LUTA/view.

8-32 แบบฝกึ หัด/กิจกรรมทา้ ยบท บทที่ 8 นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม กฎหมายที่เก่ียวข้อง และกรณีศกึ ษา 4 คาบ 1. จงอธิบายความหมายของนโยบายส่ิงแวดล้อม (Environmental Policy) 2. สิง่ สำคัญสำหรับนโยบายสงิ่ แวดล้อมมอี ะไรบา้ ง 3. จงอธบิ ายบทบาทของนกั ส่งิ แวดล้อม (Environmentalist) 4. ยุทธศาสตร์ชาติที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยประเด็นใดบา้ ง 5. จงอธบิ ายระบบการจดั การสงิ่ แวดล้อมของเทศบาลนครภูเกต็ 6. Polluter Pay Principles คอื อะไร 7. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 บัญญัติข้ึนเพื่อ อะไร 8. จงระบกุ ฎหมายเกี่ยวกับการจดั การขยะของไทย 9. จงระบุกฎหมายทเี่ กยี่ วข้องกับพน้ื ที่ชายฝ่ังทะเล 10. จงยกตวั อย่างกรณศี ึกษาที่เกยี่ วขอ้ งกับการจัดการขยะอย่างยงั่ ยนื